บริษัททัวร์ โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์
โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์
ท่องเที่ยว 77 จังหวัด
ใบอนุญาตเลขที่ 11/05028
ติดต่อเจ้าหน้าที่ออฟฟิต
รางวัลจากการท่องเที่ยว
ติดตามข่าวสารของเรา
ทัวร์จีน
ทัวร์อินเดีย
ทัวร์ภูฏาน
ทัวร์เนปาล
ลารุงการ์ เมืองเซอต๋า
เต้าเฉิง เมืองสรวงสวรรค์
ย่าติง แชงกรีล่าแห่งสุดท้าย
เมืองตันปา หุบเขาสาวงาม
ต๋ากู่ปิงชวน อุทยานสวรรค์
ซงผิงโกว ทะเลสาบเปลี่ยนสี
เมืองเดียนเบียนฟู
เมืองมกโจว
เมืองไมโจว
มณฑลซานซี
พม่า ประเทศพม่า
พุกาม
มัณฑะเลย์
ลาว ประเทศลาว
ภาษาลาว
หลวงพระบาง
ทุ่งไหหิน เชียงขวาง
ประเทศเวียดนาม
ทัวร์เวียดนาม
เที่ยวเวียดนาม
ภาษาเวียดนาม
นครวัด
ภาษาเขมร
กัมพูชา เที่ยวกัมพูชา
ประเทศเนปาล
ทัวร์เนปาล
เที่ยวเนปาล
ประเทศเกาหลี
เที่ยวเกาหลี
ภาษาเกาหลี
ประเทศภูฏาน
วัดทักซัง
ทัวร์ภูฏาน
บาหลี
บุโรพุทโธ
เกาะบาหลี
ประเทศอินเดีย
พุทธคยา
แคชเมียร์
ทัวร์อินเดีย
ประเทศศรีลังกา
ระบำศรีลังกา
วัดพระเขี้ยวแก้ว
ประเทศตุรกี
ทัวร์ตุรกี สุเหร่าสีฟ้า
เที่ยวตุรกี อิสตันบูล
ประเทศอียิปต์
มหาพีระมิดกีซ่า
อารยธรรมอียิปต์
ปักกิ่ง
ฉงชิ่ง
ซีอาน
จิ่วจ้ายโกว
จางเจียเจี้ย
ไต้หวัน
อุทยานทาโรโกะ
ทะเลสาบสุริยันจันทรา
ประเทศมาเลเซีย
ท่องเที่ยวมาเลเซีย
เก็นติ้งไฮแลนด์
มาเลเซีย มะละกา
อิหร่าน
ประเทศอิหร่าน
จัตุรัสอิหม่าม
โมร็อกโก
เมืองเฟส (Fes)
พระราชวังบาเฮีย
โครเอเชีย
อุทยานพลิตวิเซ่
สโลวีเนีย
แม่ฮ่องสอน
ปางอุ๋ง
ทุ่งดอกบัวตอง
ถ้ำแก้วโกมล
จังหวัดน่าน
ดอยภูคา
ดอยตุง
พระธาตุดอยตุง
ดอยอ่างขาง
น้ำตกลงรู
ดงนาทาม
สามพันโบก
กาญจนบุรี
ประจวบคีรีขันธ์
ราชบุรี
อยุธยา
ชลบุรี
ระยอง
จันทบุรี
ตราด
กระบี่
ชุมพร
ตรัง
พังงา
ระนอง
สตูล
ข้อมูลท่องเที่ยวจังหวัดบุรีรัมย์
อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์
ปราสาทหินพนมรุ้ง
ปราสาทหินพนมรุ้ง
ปราสาทหินพนมรุ้ง
ปราสาทหินพนมรุ้ง
ปราสาทหินพนมรุ้ง
ปราสาทหินพนมรุ้ง
ปราสาทหินพนมรุ้ง
ปราสาทหินพนมรุ้ง
ปราสาทหินพนมรุ้ง สร้างขึ้นจากหินทรายสีชมพู ตั้งอยู่บนยอดเขาพนมรุ้งสูง 1,320 ฟุตจากระดับน้ำทะเล ชื่อพนมรุ้งแปลว่าภูเขาใหญ่ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 15 18 จารึกต่างๆที่นักวิชาการได้อ่านและแปลพอจะสรุปได้ว่า พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 3 กษัตริย์แห่งเมืองพระนคร (พ.ศ.1487 1511)ได้สถาปนาเทวาลัยถวายพระอิศวรที่ขาพนมรุ้ง ซึ่งในสมัยแรกๆคงยังไม่ใหญ่โตนัก ต่อมาพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 (พ.ศ.1511 1544)ได้ทรงอุทิศที่ดินและข้าทาสถวายแด่เทวสถานพนมรุ้ง ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 17 นเรนทราทิตย์ เจ้านายแห่งราชวงศ์มหิทรปุระที่ปกครองดินแดนแถบนี้ (ซึ่งเป็นต้นตระกูลของ พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ผู้สร้างนครวัด) ได้สร้างปราสาทแห่งนี้ขึ้นและได้ทรงบำเพ็ญพรตเป็นโยคี ณ ปราสาทพนมรุ้ง
พนมรุ้ง เป็นชื่อดั้งเดิม ซึ่งปรากฏหลักฐานตามศิลาจารึกที่ค้นพบปราสาทแห่งนี้ ปราสาทพนมรุ้งสร้างขึ้นเนื่องในศาสนาฮินดูลัทธิไศวนิกาย ซึ่งนับถือ พระศิวะเป็นเทพเจ้าสูงสุด ดังนั้น เขาพนมรุ้งจึงเปรียบเสมือนเขาไกรลาสที่ประทับของพระศิวะ
องค์ประกอบและแผนผังของปราสาทพนมรุ้งได้รับการออกแบบให้มีลักษณะเป็นแนวเส้นตรง และเน้นความสำคัญเข้าหาจุดศูนย์กลาง นั่นคือปราสาทประธานซึ่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านขวาของบันไดทางขึ้นสู่ศาสนสถานมีอาคารที่เรียกว่า พลับพลา อาคารนี้อาจจะเป็นอาคารที่เรียกกันในปัจจุบันว่า พลับพลาเปลื้องเครื่อง ซึ่งเป็นที่พักจัดเตรียมองค์ของพระมหากษัตริย์ ก่อนเสด็จเข้าสู่การสักการะเทพเจ้า หรือประกอบพิธีกรรมในบริเวณศาสนสถาน ถัดจากนั้นเป็นทางเดินทั้งสองข้างประดับด้วยเสามียอคล้ายดอกบัวตูมเรียกว่าเสานางเรียง จำนวนข้างละ 34 ต้น ทอดตัวไปยังสะพานนาคราช ซึ่งผังกากบาทยกพื้นสูง ราวสะพานทำเป็นลำตัวพญานาค 5 เศียร สะพานนาคราชนี้ ตามความเชื่อเป็นทางที่เชื่อมระหว่างโลกมนุษย์กับเทพเจ้า สิ่งที่น่าสนใจคือ จุดกึ่งกลางสะพาน มีภาพจำหลักรูปดอกบัวแปดกลีบ อาจหมายถึงเทพประจำทิศทั้งแปด ในศาสนาฮินดู หรือเป็นจุดที่ผุ้มาทำการบูชา ตั้งจิตอธิษฐาน จากสะพานนาคราชชั้นที่ 1 มีบันไดจำนวน 52 ขั้นขึ้นไปยังลานบนยอดเขา ที่หน้าซุ้มประตูระเบียงคดทิศตะวันออก มีสะพานนาคราชชั้นที่ 2 ระเบียงคดก่อเป็นห้องยาวต่อเนื่องกัน เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารอบลานปราสาทแต่ไม่สามารถเดินทะลุถึงกันได้ เพราะมีผนังกั้นอยู่เป็นช่วงๆ มีซุ้มประตูกึ่งกลางของแต่ละด้าน ที่มุมระเบียงคดทำเป็นซุ้มกากบาท ที่หน้าบันของระเบียงคดทิศตะวันออกด้านนอก มีภาพจำหลักรูปฤาษีซึงหมายถึงพระศิวะในปางที่เป็นผู้รักษาโรคภัยไข้เจ็บ และอาจรวมหมายถึง นเรนทราทิตย์ ผู้ก่อสร้างปราสาทประธานแห่งนี้ด้วย
ปราสาทประธาน ก่อด้วยหินทรายสีชมพูมีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมกว้าง 8.20 เมตรสูง 27 เมตร ด้านหน้าทำเป็นมณฑปโดยมีอันตราละหรือฉนวนเชื่อมปราสาทประธานนี้ เชื่อว่า สร้างโดย นเรนทราทิตย์ ซึ่งเป็นผู้นำปกครองชุมชนที่มีปราสาทพนมรุ้งเป็นศูนย์กลาง ราว พุทธศตวรรษที่ 17 ภายในเรือนธาตุตรงกึ่งกลาง เรียกว่าห้องครรภคฤหะ เป็นที่ประดิษฐานรูปเคารพที่สำคัญที่สุด ในที่นี้คือ ศิวลึงค์ ซึ่งแทนองค์พระศิวะ เป็นที่น่าเสียดายว่า ประติมากรรมชิ้นนี้ได้สูญหายไป เหลือเพียงแต่ ท่อโสมสูตร คือร่องน้ำมนต์ที่ใช้รับน้ำสรงจากการสักการะศิวะลึงค์เท่านั้น ทางเดินด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ของปราสาทประธาน มีปราสาทอิฐสององค์และปรางค์น้อย จากหลักฐานทางด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรม กล่าวได้ว่า ปราสาททั้งสามหลังได้สร้างขึ้นก่อนปราสาทประธานราวพุทธศตวรรษที่ 15 และ 16 ตาลำดับ ส่วนทางด้านหน้าของปราสาทประธาน คือทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีอา๕รสองหลัง ก่อด้วยศิลาแลง เรียกว่าบรรณาลัย ซึ่งเป็นที่เก็บรักษาคัมภีร์ทางศาสนา ก่อสร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 18
ที่บริเวณหน้าบันและทับหลังของปราสาทประธานมีภาพจำหลักแสดงเรื่องราวในศาสนาฮินดู เช่นพระศิวนาฏราช (ทรงฟ้อนรำ) พระนารายณ์บรรทมสินธุ์อวตารของพระนารายณ์ เช่น พระรามในเรื่องรามเกียรติ์ หรือพระกฤษณะ ภาพพิธีกรรม ภาพชีวิตประจำวันของฤาษีเป็นต้น
กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนปราสาทพนมรุ้งเป็นโบราณสถานของชาติเมื่อปี พ.ศ. 2475 ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52 ตอนที่ 75 ต่อมาได้ดำเนินการบูรณะตั้งปี พ.ศ. 2514 จนเสร็จสมบูรณ์ มีการพัฒนาและปรับปรุงดำเนินการเป็นอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิด เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.2531
ศาสนสถานแห่งนี้ตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟ อาจเป็นเพราะภูเขามีความสูงไม่มากนักและปากภูเขาไฟยังเป็นแอ่งน้ำธรรมชาติอีกด้วย ประการสำคัญคือความเชื่อของคนพื้นถิ่นในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่นับถืออำนาจเหนือธรรมชาติ เชื่อว่าในธรรมชาติมีวิญญาณที่สามารถดลบันดาลให้เกิดสิ่งที่ดีและไม่ดีได้แก่มนุษย์ได้ จึงมีการนับถือภูเขา ป่าไม้ แม่น้ำ ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการดำรงชีวิตในอดีต นอกจากนี้ การสร้างปราสาทบนภูเขายังพ้องกับคตความเชื่อในศาสนาฮินดูที่เปรียบปราสาทหินดั่งเทวาลัยของเทพเจ้าบนยอดเขาพระสุเมรุ ศูนย์กลางแห่งจักรวาล ชุมชนที่เขาพนมรุ้งเป็นชุมชนขนาดใหญ่ เพราะนอกจากมีบารายหรืออ่างเก็บน้ำ ซึ่งใช้ในพื้นที่ส่วนหนึ่งของปากปล่องภูเขาไฟเดิมเป็นอ่างเก็บน้ำอยู่บนเขาอยู่แล้ว ที่เชิงเขามีบารายอีก 2 สระ คือสระน้ำหนองบัวบารายที่เชิงเขาพนมรุ้ง และสระน้ำโคกเมืองใกล้ปราสาทเมืองต่ำ สระน้ำบนพื้นราบเบื้องล่างภูพนมรุ้งนี้รับน้ำมาจากธารน้ำที่ไหลมาจากบนเขา นอกจากนี้ยังมีกุฏิฤาษีอยู่ 2 หลัง เป็นอโรคยาศาลที่รักษาพยาบาลของชุมชนอยู่เชิงเขาด้วย บริเวณที่ตั้งของปราสาทพนมรุ้งอาจเคยเป็นที่ตั้งของศาสนพื้นถิ่นมาก่อนที่จะมีการก่อสร้างขึ้นเป็นปราสาท ที่มีความใหญ่โตงดงาม สมกับเป็น กมรเตงชคตวฺนํรุง ผู้เป็นเทพเจ้าแห่งปราสาทพนมรุ้ง อันหมายถึงองค์พระศิวะในศาสนาฮินดูที่กษัตริย์ขอมทรงนับถือ การเปลี่ยนสถานที่เคารพพื้นถิ่นให้เป็นปราสาทกินตามแบบคติขอม น่าจะเกี่ยวเนื่องกับ การเปลี่ยนลักษณะการเมืองการปกครอง ที่ผู้นำท้องถิ่นมีความสัมพันธ์กับกษัตริย์ขอมโดยใช้ระบบความเชื่อมทางศาสนา วัฒนธรรมและวัฒนธรรมท้องถิ่น
จะเห็นได้ว่าปราสาทพนมรุ้งไม่เพียงแต่จะมีความโดดเด่นในด้านการวางผังที่สัมพันธ์กับภูมิประเทศแล้ว การตกแต่งด้วยภาพจำหลักหินที่ทับหลังและหน้าบันยังเป็นเอกลักษณ์อีกอย่างของปราสาทหินสีชมพูแห่งนี้ นอกจากงดงามด้วยฝีมือช่างแล้ว ยังเผยให้เราได้รู้ถึงเรื่องราวเกี่ยวกับปราสาทแห่งนี้ ไม่ว่าจะเป็นภาพที่บอกถึงการเป็นเทวสถานของพระศิวะ ภาพพิธีกรรมต่างๆและภาพเรื่องราวจากมหากาพย์ของอินเดียคือรามายณะและมหาภารตะ เป็นต้น
ปราสาทพนมรุ้งได้รับการบูรณะด้วยกรรมวิธีอนัสติโลซิส ซึ่งเป็นการบูรณะโบราณสถานโดยทำสัญลักษณ์ของชิ้นส่วนต่างๆก่อนจะรื้ออกเพื่อเสริมรากฐาน และนำชิ้นส่วนต่างๆมาประกอบขึ้นใหม่ตามเดิมซึ่งวิธีการเช่นนี้ใช้กับปราสาทหินหลายแห่ง เช่นปราสาทหินพิมาย ปราสาทพนมวัน เป็นต้น
ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 (เมษายน) ของทุกปีมีงานประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้งซึ่งเป็นงานใหญ่ประจำปี โดยในวันนี้พระอาทิตย์แรกแห่งอรุณจะสาดส่องทะลุผ่านประตูทั้ง 15 ช่องชาวบ้านจะเดินเท้าขึ้นมาเพื่อชมความอลังการที่ผสานระหว่างธรรมชาติและสิ่งก่อสร้างของบรรพชน
สถานที่ตั้ง
ปราสาทพนมรุ้ง ตั้งอยู่ที่บ้านตาเป๊ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ เวลาทำการ 06.00 น. 18.00 น. ค่าเข้าชม ชาวไทย 10 บาท ชาวต่างชาติ 40 บาท
การเดินทาง
จากอำเภอนางรอง ใช้ทางหลวงหมายเลข 24 ประมาณ 14 กิโลเมตร ถึงสามแยกโรงเรียนบ้านตะโกเลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2117 ตรงไปราว 6 กิโลเมตร ถึงบ้านตาเป๊ก แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 2221 อีก 6 กิโลเมตร
รถประจำทาง
รถโดยสารจากกรุงเทพฯ เขาพนมรุ้ง ลงที่เชิงเขาแล้วต่อรถสองแถวขึ้นปราสาท
รถสายบุรีรัมย์ นางรอง ลงสถานีนางรองแล้วต่อรถสองแถว
ปราสาทหินพนมรุ้ง
ปราสาทหินพนมรุ้ง
ปราสาทหินพนมรุ้ง
ปราสาทหินพนมรุ้ง
บุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ปราสาทพนมรุ้ง ปราสาทเมืองต่ำ โรงแรมบุรีรัมย์
เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม
ข้อมูลท่องเที่ยว จังหวัดบุรีรัมย์
ข้อมูลทั่วไป : บุรีรัมย์
ปราสาทเมืองต่ำ
อำเภอเมือง : เฉลิมพระเกียรติ
อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง
อำเภอนางรอง : ประโคนชัย : บ้านกรวด : ปะคำ
วนอุทยานเขากระโดง
อำเภอสตึก : พุทไธสง : บ้านใหม่ไชยพจน์
เทศกาล งานประเพณี
ที่พัก โรงแรม รีสอร์ท ร้านอาหาร
ทัวร์โปรโมชั่น
โปรแกรมทัวร์อื่นๆ
โปรแกรมจอยทัวร์
URC863-UQ :
Grand ซินเจียงเหนือ อูรูมูฉี คานาสือ หมู่บ้านเหอมู่ หุบเขาอัลไต หมู่บ้านไป๋ฮาปา ล่องเรือทะเลสาบคานาสือ แพะเมืองผี ภูเขาหิมะเทียนซาน ตลาดต้าปาจา
(
UQ
)
วันเดินทาง 14 - 21 กันยายน, 21 - 28 กันยายน, 5 - 12 ตุลาคม 2568
ชมใบไม้เปลี่ยนสีปีละครั้งที่ อุทยานคานาสือ (เข้าอุทยานคานาสือ 2 วัน เน้นถ่ายรูปสวยๆ)
เที่ยวครบซินเจียงเหนือ หมู่บ้านเหอมู่ หมู่บ้านไป่ฮาปา ธารน้ำห้าสี และทะเลสาบอูหลุนกูหู
ชม ภูเขาหิมะเขาเทียนซาน (มรดกโลก) ล่องเรือทะเลสาบเทียนฉือ ชมวิวทิวทัศน์ของภูเขาหิมะ
Kazak989-3U :
เที่ยว 2 ประเทศ ซินเจียง อี้หนิง อัลมาตี้ คาซัคสถาน ทะเลสาบไซลี่มู่ ชารีนแคนยอน วิหารเซนคอฟ Shymbulak Ski หมู่บ้านคาจั่นฉี
(
3U
)
วันเดินทาง
17 - 25 ตุลาคม
2568
ชม ชารีนแคนยอน แกรนด์แคนย่อนที่ใหญ่อันดับ 2 ของโลกรองจากอเมริกา
ชม เมืองอัลมาตี้ เมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศคาซัคสถานและเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของประเทศ
นั่งกระเช้า ชิมบูลัก (Shymbulak Ski Resort) อยู่ในเทือกเขา Zailiuskiy Alwatau
ชม ทะเลสาบไซลี่มู่ ที่ทอดตัวอยู่ในวงล้อมของเทือกเขาเทียนซาน อยู่ท่ามกลางทุ่งหญ้าและภูเขาหิมะ
TFU871-MU :
เฉิงตู ภูเขาสี่ดรุณี ตันปา ใบไม้เปลี่ยนสี ย่าติง เต้าเฉิง หลี่ถัง ทุ่งหญ้าถ่ากง วัดถ่ากงซื่อ หย่าเจียง ซินตูเฉียว ภูเขาหิมะ เมืองโบราณหวงหลงซี
(
MU
)
วันเดินทาง 11 - 18 ตุลาคม 2568
ชมใบไม้เปลี่ยนสีปีละครั้งที่ ภูเขาสี่ดรุณี และ อุทยานย่าติง
ชม ป่าเปลี่ยนสีปีละครั้งที่หุบเขาซวงเฉียวโกว อุทยานภูเขาสี่ดรุณี
ชมป่าเปลี่ยนสีปีละครั้งที่อุทยานย่าติง "THE LAST SHANGRI-LA"
TG-659 :
เฉิงตู 3 อุทยาน - อุทยานจิ่วจ้ายโกว อุทยานหวงหลง อุทยานปี้เผิงโกว รถไฟความเร็วสูง ถนนซุนซีลู่ ถนนโบราณจิ๋งหลี่ โชว์เปลี่ยนหน้ากากและโชว์ทิเบต
(
TG
)
วันเดินทาง 10 - 15
ตุลาคม, 6 11 พฤศจิกายน 2568
เที่ยวครบ 3 อุทยานที่สวยงามแห่งเสฉวน จิ่วจ้ายโกว-หวงหลง - อุทยานปี้เผิงโกว
ไม่ลงร้านช้อป - อาหารดี - โรงแรม 5 ดาว บินการบินไทย
INDIA877 :
อินเดีย เนปาล พุทธคยา ราชคฤห์ กุสินารา ลุมพินี สาวัตถี ล่องเรือ สารนาท พารานสี
(
TG
)
วันเดินทาง 26 ตุลาคม - 2 พฤศจิกายน, 11 - 18 มกราคม 2569
เที่ยวครบ 4 สังเวชนียสถาน พุทธคยา กุสินารา ลุมพินี สาวัตถี พาราณสี
ชม ล่องเรือแม่น้ำคงคา เที่ยวชม วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี
พักโรงแรม 4-5 ดาว - มีอาหารไทย - มีพระวิทยากร - บินการบินไทย
สอบถามทัวร์เพิ่มเติม
ID Line Office :
@oceansmiletour
คุณเล็ก โทร.082-3656241 ID Line : lekocean2
คุณโจ้ โทร.093-6468915 ID Line : oceansmile
รับทำกรุ๊ปเหมา เที่ยวส่วนตัว ดูงาน
ประเทศจีน (ทุกเมือง) อินเดีย (ทุกเมือง)
เนปาล ภูฏาน บาหลี ศรีลังกา ลาว กัมพูชา เวียดนาม พม่า
บริษัท โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์ จำกัด โทร. 0-2969 3664, 0-2949 5134-36
เลขที่ 23/121 ซอยนวมินทร์ 161 แยก1-4 ถ.นวมินทร์ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10230
Hotline 0-936468915, 0-823656241 ใบอนุญาตเลขที่ 11/05028