บริษัททัวร์ โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์
ทัวร์หุบเขาเทวดา







 
ข้อมูลท่องเที่ยวประเทศอินเดีย
• ถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
เส้นทางไปถ้ำเอลโลรา
เส้นทางสู่ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา เมืองออรังกบาด
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา เมืองออรังกบาด
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา เมืองออรังกบาด
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา เมืองออรังกบาด
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา เมืองออรังกบาด
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา เมืองออรังกบาด
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา เมืองออรังกบาด
ถ้ำแห่งศาสนาฮินดู ถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
ถ้ำเอลโลรา Ellora Caves
ถ้ำแห่งศาสนาฮินดู ถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
ถ้ำเอลโลรา Ellora Caves
คลิปถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
• ถ้ำเอลโลรา : บันทึกการเดินทางที่ถ้ำสามศาสนา
• ผมเดินทางมาชมถ้ำเอลโลรา มหาวิหารแห่งถ้ำสามศาสนา สิ่งแรกที่สร้างความตะลึกคือการขุดเจาะภูเขาเพื่อสร้างศาสนสถานและเทวสถานตามความเชื่อของศาสนาตัวเองที่เคารพนับถือ
• ผมใช้เวลาแค่ชั่วโมงกว่าๆจากเมืองออรังกบาดเพื่อเดินทางมายังถ้ำแห่งนี้ สิ่งที่ปรากฎอยู่เบื้องหน้าคือความศรัทธาปสาทะมีต่อศาสนาที่ทำให้เหล่าสาวกมาลงมือขุดภูเขาเจาะแผ่นหินเพื่อสร้างวัดสร้างวิหาร
• ถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves)
• ในอดีตโบราณนานมา การสร้างสิ่งก่อสร้างที่ยิ่งใหญ่และสิ่งมหัศจรรย์ของโลก บางครั้งก็มักเกิดจากพลังความเชื่อทางศาสนา ความศรัทธา ความกลัว และ ความรัก ถ้ำเอลโลราก็เหมือนกัน นั่นคือพลังความเชื่อและความศรัทธาของเหล่าสาวก ที่ได้ร่วมมือกันขุดเจาะภูเขาเพื่อก่อสร้างวิหารหรือรูปเคารพสักการะของศาสนาที่ตัวเองนับถือ เคารพ ศรัทธาเมื่อพันกว่าปีมาแล้ว ซึ่งศาสนาแต่ละศาสนามีแหล่งกำเนิดและมูลเหตุในความเชื่อที่แตกต่างกัน มีหลักคำสอนแตกต่างกัน ถึงแม้จะมีบางส่วนใกล้เคียงกันแต่แนวคิดมูลฐานไม่เหมือนกัน แต่เมื่อศาสนาทั้งสามมาอยู่ร่วมกันในภูเขาแห่งเดียวกัน โดยเจาะภูเขาจนกลายเป็นถ้ำหิน เพื่อใช้เป็นวัด โบสถ์ วิหาร หอสวดมนต์ที่มีจำนวนทั้งหมดถึง 34 ถ้ำ อยู่ในภูเขาลูกเดียวกันทั้งสามศาสนาคือศาสนาพุทธ ศาสนาฮินดูและศาสนาเชน ที่ถ้ำเอลโลรา เมืองออรังกบาด ประเทศอินเดีย ถ้ำแห่งนี้เป็นถ้ำที่เกิดขึ้นจากฝีมือมนุษย์โดยเจาะภูเขาหินทั้งลูกจนกลายเป็นถ้ำ
• มีคนเคยกล่าวไว้ว่าหากใครได้ชมถ้ำอชันตาแล้วถ้ำเอลโลราก็ดูเหมือนจะไร้ความหมาย เพราะความวิจิตรพิศดารและความงามอยู่ที่ถ้ำอชันตาหมด แต่หากมองกันให้ดีจะเห็นว่าถ้ำอชันตาและถ้ำเอลโลรานั้นมีความมหัศจรรย์กันคนละแบบ ถ้ำอชันตามีความงดงามแต่มีเพียงศาสนาเดียวคือพระพุทธศาสนาเพียงแต่มีสองนิกายหลักคือมหายานและเถรวาท ส่วนถ้ำเอลโลรานั้นมีถึงสามศาสนาซึ่งมีความแตกต่างทางความเชื่อคนละอย่าง
• ถ้ำเอลโลร่าสร้างขึ้นประมาณพุทธศตวรรษที่ 9 - 12 ในขณะที่การสร้างถ้ำอชันตากำลังจะสิ้นสุดลงจึงเป็นเหมือนรอยต่อแห่งประวัติศาสตร์ ถ้ำเอลโลร่ามี 34 ถ้ำ แบ่งเป็นสามตอน สามศาสนา คือศาสนาพุทธมี 12 ถ้ำตั้งแต่ถ้ำที่ 1-12, ศาสนาฮินดูมี 17 ถ้ำคือถ้ำที่ 13-29, และศาสนาเชนมี 5 ถ้ำคือถ้ำที่ 30-34 เริ่มสร้างจากด้านใต้ซึ่งเป็นถ้ำของพระพุทธศาสนาทอดยาวตามภูเขาไปทางทิศเหนือคือศาสนาฮินดูและสิ้นสุดลงด้วยถ้ำของศาสนาเชน ระยะทางประมาณสองกิโลเมตร โดยศาสนาพุทธเริ่มต้นสร้างก่อน พอพระพุทธศาสนาเริ่มเสื่อม ศาสนาฮินดูกำลังรุ่งเรืองจึงสร้างต่อ และตามมาด้วยศาสนาเชน ตามลำดับ
• ถ้ำเอลโลรา เป็นหมู่ถ้ำในยุคหลังเกิดขึ้นในช่วงประมาณพุทธศักราช 1100 ถึง ถึง 1400 เป็นสมบัติของสามศาสนาคือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ศาสนาฮินดู และศาสนาเชน รวมถ้ำทั้งหมด 34 ถ้ำ แบ่งเป็น
1. ถ้ำพระพุทธศาสนามหายาน (สร้างประมาณพ.ศ.1100 - 1350) มี 12 ถ้ำ (ถ้ำหมายเลขที่ 1 - 12)
2. ถ้ำศาสนาฮินดู (สร้างประมาณพ.ศ.1200 - 1450) มี 17 ถ้ำ (ถ้ำหมายเลขที่ 13 - 29)
3. ถ้ำศาสนาเชน (สร้างประมาณพ.ศ.1350 - 1450) มี 5 ถ้ำ (ถ้ำหมายเลขที่ 30 - 34)
• ถ้ำเอลโลรา เป็นถ้ำสามศาสนา สร้างขึ้นต่างกรรมต่างวาระกัน มีวัตถุประสงค์ต่างกันคือ
• ถ้ำของพระพุทธศาสนานั้นสร้างถ้ำขึ้นเพื่อใช้เป็นวัดหรือสังฆารามและใช้เพื่อประกอบพิธีสังฆกรรม และใช้เป็นที่พักอาศัย จึงมีสังฆารามเป็นที่อยู่อาศัยของพระภิกษุ มีสถานที่สำหรับใช้เพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนาทั้งหอสวดมนต์ หอฉัน บางถ้ำใช้เป็นเหมือนโรงเรียนที่พระภิกษุใช้ในการเรียนการสอนพระปริยัติธรรมซึ่งมีหลักฐานที่ถ้ำหมายเลขสิบเอ็ดเป็นอาคารสามชั้นเจาะเข้าไปในผนังหิน
• ส่วนถ้ำของศาสนาฮินดูนั้น เป็นถ้ำที่แกะสลักอย่างงดงามวิจิตรพิศดาร ใหญ่โต เป็นถ้ำที่แกะสลักรูปเคารพของมหาเทพ อาทิ พระศิวะ พระแม่อุมาเทวี พระวิษณุ พระพรหม รวมทั้งการเล่าเรื่องราวของมหาเทพผ่านรูปแกะสลักต่างๆ มีเครื่องประดับมากมาย แสดงความยิ่งใหญ่แห่งศาสนาของตน มีประตูทางเข้าใหญ่โต สิ่งก่อสร้างและรูปเคารพที่ปรากฎในถ้ำของฮิดูจึงดูโดดเด่นกว่าศาสนาพุทธและศาสนาเชน
• ส่วนถ้ำของศาสนาเชนนั้นมีการแกะสลักหินที่งดงามไม่แพ้ถ้ำของศาสนาฮินดู แต่มีลักษณะที่โดดเด่นอย่างหนึ่งคือเป็นถ้ำที่แกะสลักรูปเคารพของศาสนดา คือพระมหาวีระ หรือ นิครนถนาฏบุตร ซึ่งมี 2 นิกายคือ นิกายทิคัมพร กลุ่มนักบวชที่นุ่งลมห่มฟ้า และ นิกายเศวตัมพร กลุ่มนักบวชที่นุ่งขาวห่มขาว จึงน่าจะสร้างขึ้นเพื่อเผยแผ่ศาสนาเป็นหลัก ถ้าหากไม่สังเกตให้ดีอาจจะมองว่ารูปแกะสลักของศาสดามหาวีระกับพระพุทธเจ้านั้นมีลักษณะใกล้เคียงกันมาก แต่มีข้อสังเกตคือศาสดามหาวีระมีลักษณะเปลือยกายไม่มีริ้วจีวร บางภาพถึงกับแสดงให้เห็นถึงอวัยวะเพศชายชัดเจน แต่ภาพพระพุทธเจ้าจะมีริ้วจีวรชัดเจน
คลิปถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves) เมืองออรังกบาด (ตอน 2)
ถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
ถ้ำเอลโลรา Ellora Caves
รูปนางอัปสราที่ถ้ำเอลโลรา (Ellora) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
ถ้ำเอลโลรา Ellora Caves
พระศิวะและพระแม่อุมาเทวีที่ถ้ำเอลโลรา (Ellora) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
ถ้ำเอลโลรา Ellora Caves
พระศิวะและพระแม่อุมาเทวีที่ถ้ำเอลโลรา (Ellora) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
ถ้ำเอลโลรา Ellora Caves
ถ้ำเอลโลรา
พระวิษณุ ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา เมืองออรังกบาด
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา เมืองออรังกบาด
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา เมืองออรังกบาด
ทัวร์ถ้ำเอลโลรา
พระศิวะกับพระแม่อุมาเทวี
ทัวร์ถ้ำเอลโลรา
ศิวะนาฎราช ถ้ำเอลโลรา
ทัวร์ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา เมืองออรังกบาด
ทัวร์ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา เมืองออรังกบาด
ทัวร์ถ้ำเอลโลรา
พระวิษณุ ถ้ำเอลโลรา
ทัวร์ถ้ำเอลโลรา
พระวิษณุ ถ้ำเอลโลรา
ทัวร์ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves)
ทัวร์ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves)
เที่ยวถ้ำเอลโลรา
พระพรหม ถ้ำเอลโลรา
เที่ยวถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา เมืองออรังกบาด
เที่ยวถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves)
เที่ยวถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves)
เที่ยวถ้ำเอลโลรา
นางอัปสรา ถ้ำเอลโลรา
เที่ยวถ้ำเอลโลรา
นางอัปสรา ถ้ำเอลโลรา
เที่ยวถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves)
เที่ยวถ้ำเอลโลรา
ถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves)
พระพุทธรูปที่ถ้ำเอลโลรา (Ellora) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
ถ้ำเอลโลรา (Ellora)
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำพระพุทธศาสนา
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำพระพุทธศาสนา
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำพระพุทธศาสนา
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำพระพุทธศาสนา
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำพระพุทธศาสนา
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำศาสนาเชน
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำศาสนาเชน
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำศาสนาเชน
• ถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves)
• ถ้ำเอลโลราตั้งอยู่ห่างจากเมืองออรังกบาดประมาณ 30 กิโลเมตร เป็นถ้ำหินที่ถูกเจาะแกะสลักภูเขาหินทั้งลูก เพื่อที่จะสร้างเป็นวัดทางพุทธศาสนา เทวสถานของศาสนาฮินดู และวัดในศาสนาเชน โดยเป็นวัดในพระพุทธศาสนา 12 ถ้ำ เป็นเทวสถานของศาสนาฮินดู 17 ถ้ำและวัดของศาสนาเชน 5 ถ้ำ รวมแล้วทั้งหมด 34 ถ้ำ ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกัน
• ถ้ำเอลโลรา เป็นอีกสิ่งมหัศจรรย์ทางด้านศิลปะโบราณของอินเดีย ที่มีอายุระหว่างคริสต์ศักราชที่ 600-1,000 ปี สำหรับตัวถ้ำนั้นตั้งอยู่ห่างจากเมืองออรังกบาด (Aurangabad) รัฐมหาราช (Maharashtra) ประมาณ 30 กิโลเมตร
• ถ้ำเอลโลราแห่งนี้เกิดจากการเจาะแกะสลักภูเขาหินทั้งลูก ด้วยฝีมือสาวก 3 ศาสนาแข่งขันกันคือ พุทธ ฮินดู และเชน ซึ่งแต่ละแห่งจะมี เทวสถาน โบสถ์ วิหาร มีเทวรูปหินแกะสลักตามความเชื่อของศาสนานั้นๆ และแต่ละภาพที่ถูกแกะสลักขึ้นในถ้ำล้วนแต่แสดงถึงจิตวิญญาณ ที่อดทนอุทิศบำเพ็ญเพียร แก่ศาสนาที่ตนเองได้นับถือ
• ก่อนเดินทางกลับ
• ก่อนเดินทางกลับจากถ้ำเอลโลรา สิ่งที่ขาดไม่ได้คือการประนมมือไหว้แสดงความเคารพอย่างจริงใจ ถึงแม้ว่าเราจะเกิดมาคนละศาสนา คนละยุคคนละสมัย แต่การประนมมือไหว้ ณ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์แห่งนี้ อย่างน้อยก็ก่อเกิดความสบายใจ ความสิริมงคล ความเจริญรุ่งเรืองให้กับตัวเราและหน้าที่การงาน รวมทั้งได้ขอขมากรรมที่เข้าไปเดินไปเหยียบย่ำและถ่ายรูปสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เพื่อมาฝากเพื่อนๆ... ด้วยกายกรรม 3 วจีกรรม 4 และมโนกรรม 3 หากข้าพเจ้ากระทำการสิ่งใดที่ผิดพลาดไป ก็กราบขออโหสิกรรมให้ข้าพเจ้าด้วยเถิด (นายพรชนก ศักดิ์ธานี / Mr.โจ้)
ถ้ำแห่งศาสนาเชน ถ้ำเอลโลรา (Ellora) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
ถ้ำเอลโลรา (Ellora)
ถ้ำแห่งศาสนาเชน ถ้ำเอลโลรา (Ellora) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
ถ้ำเอลโลรา (Ellora)
ถ้ำแห่งศาสนาเชน ถ้ำเอลโลรา (Ellora) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
ถ้ำเอลโลรา (Ellora)
ถ้ำแห่งศาสนาเชน ถ้ำเอลโลรา (Ellora) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
ถ้ำเอลโลรา (Ellora)
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำศาสนาเชน
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำศาสนาเชน
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำศาสนาเชน
ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำศาสนาเชน
เที่ยวถ้ำเอลโลรา
ถ้ำศาสนาเชน
เที่ยวถ้ำเอลโลรา
ถ้ำศาสนาเชน
เที่ยวถ้ำเอลโลรา
ถ้ำศาสนาเชน
เที่ยวถ้ำเอลโลรา
ถ้ำศาสนาเชน
ทัวร์ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำศาสนาเชน
ทัวร์ถ้ำเอลโลรา
ถ้ำศาสนาเชน
ภัตตาคารที่ถ้ำเอลโลรา
ภัตตาคารที่ถ้ำเอลโลรา
ท้องทุ่งแห่งเมืองออรังกบาด
ท้องทุ่งแห่งเมืองออรังกบาด
แผนที่เดินทางไปถ้ำเอลโลรา (Ellora Caves) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
• ป้อมเดาลาตาบัด (Daulatabad) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์
ป้อมเดาลาตาบัด (Daulatabad) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์ อินเดีย
ป้อมเดาลาตาบัด
• ป้อมเดาลาตาบัด Daulatabad
• ระหว่างเส้นทางจากเมืองออรังกบาดไปถ้ำเอลโลรา ระหว่างครึ่งทางพอดี (ประมาณ 16 กิโลเมตร) ผมได้พบกับโบราณสถานที่คิดอยู่ในใจว่าน่าจะเป็นพระราชวังเก่า แต่เป้าหมายผมอยู่ที่ถ้ำเอลโลรา ไว้ขากลับจะเข้ามาเยี่ยมชม..
• ป้อมเดาลาตาบัด (Daulatabad) ป้อมปราการโบราณรอบภูเขาดัลคีรี ซึ่งครั้งหนึ่งที่ป้อมแห่งนี้เคยเป็นพระราชวังของราชวงศ์ยารวะ ต่อมา พ.ศ. 1839 กษัตริย์อลาอุดดินคัลจิ ซึ่งเป็นชาวมุสลิมได้มายึดครอง และได้กลายเป็นเมืองหลวงอยู่พักหนึ่ง ก่อนจะย้ายเมืองใหม่ไปสร้างที่เมืองออรังกบาด ชม
• ป้อมเดาลาตาบัดวันนี้ สิ่งที่หลงเหลืออยู่ก็คือซากกำแพงเมืองที่ใหญ่โต ซากเสามัสยิดจำนวน 106 ต้น และซากพระราชวังที่อยู่บนยอดเขา รวมทั้งปืนใหญ่ที่ยังอยู่คู่กับเมืองเก่า
• ผมมาชมป้อมเดาลาตาบัดในช่วงบ่าย ก็มาเจอกับคณะนักเรียนอินเดียที่คุณครูพามาทัศนศึกษา ชมเมืองเก่าเล่าประวัติศาสตร์ ผมอุตส่าห์เดินตามคณะนักเรียนไปด้วยเผื่อว่าจะได้ข้อมูลอะไรมาบ้าง แต่สุดท้ายเป็นว่า ฟังภาษาอินเดียไม่รู้เรื่องครับ...
ป้อมเดาลาตาบัด (Daulatabad) เมืองออรังกบาด รัฐมหาราษฎร์ อินเดีย
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
บ่อน้ำโบราณป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ป้อมเดาลาตาบัด
ถ้ำอชันต้า
• รูปและสถานที่ท่องเที่ยวเส้นทางรัฐมหาราช
• รถไฟอินเดีย • พระพิฆเนศ เมืองปูเน
อินเดีย ทัวร์อินเดีย เที่ยวอินเดีย ประเทศอินเดีย
• สถานที่ท่องเที่ยว ประเทศอินเดีย  
อินเดีย
• อินเดีย ประเทศอินเดีย ดินแดนหลากศาสนาหลายวัฒนธรรม ดินแดนแห่งพุทธภูมิ ดินแดนแห่งการแสวงบุญ อินเดียมีอะไรมากมายกว่าที่เราคิด...
เลห์ลาดัก
• เลห์ ลาดัก ลาดักห์ ดินแดนที่ซ่อนเร้นอยู่ตรงกลางระหว่างเทือกเขาหิมาลัยและที่ราบสูงคาราโครัม ดินแดนที่ได้ขึ้นชื่อว่า "ทิเบตน้อย" ดินแดนลี้ลับที่ยากแก่การเข้าถึง...ดินแดนแห่งโลกพระจันทร์
เที่ยวอินเดีย
• พุทธคยา เที่ยวอินเดีย สำหรับการเกิดมาเป็นชาวพุทธ สักครั้งหนึ่งในชีวิตก็ขอให้ได้มากราบนมัสการพระมหาเจดีย์พุทธคยา เพื่อความเป็นสิริมงคลแห่งชีวิตและครอบครัว
ทัชมาฮาล
• ทัชมาฮาล สุสานหินอ่อน อนุสรณ์สถานแห่งความรัก ตั้งอยู่ในเมืองอัครา นับเป็นหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่ที่ผู้คนเชื่อว่าเป็นสถาปัตยกรรมแห่งความรักที่สวยที่สุดในโลก
แคชเมียร์
• แคชเมียร์ เที่ยวแคชเมียร์ แคชเมียร์ "ดินแดนแห่งสวรรค์บนดิน" เมืองที่ได้เชื่อว่าเป็นดินแดนแห่งทะเลสาบและสายน้ำ สวนดอกไม้ ทิวทัศน์แห่งขุนเขาและงานศิลปะ แคชเมียร์ ตั้งอยู่ตอนเหนือสุดของอินเดีย
สิกขิม
• สิกขิม ดินแดนในอ้อมกอดหิมาลัย มียอดเขาที่สูงที่สุดคือยอดเขาคันชังจุงก้าสูงถึง 8,598 เมตร สิกขิมมีธรรมชาติที่บริสุทธิ์และสวยงาม มีหุบเขายุมถังดินแดนที่ได้รับสมญานามว่า “สวิสเซอร์แลนด์แห่งเอเชีย”
ถ้ำอชันตา
• ถ้ำอชันตา : ถ้ำพระพุทธศาสนา
• ถ้ำอชันตา มีเกิดมาตั้งแต่ พ.ศ.350 เดิมทีนั้นสร้างโดยพระสงฆ์นิกายหินยาน และช่างแกะสลักส่วนใหญ่ก็เป็นชาวฮินดูที่เปลี่ยนมานับถือศาสนาพุทธ
ราชสถาน
• ราชสถาน ดินแดนฟ้าจรดทราย ถ้าอยากดูอินเดียให้คุ้มค่าต้องมาราชสถาน เมืองมหาราชา เมืองแห่งการค้าขาย มหานครแห่งความมั่งคั่งที่ประกอบด้วยนครสีชมพู นครสีฟ้า และนครสีทอง
ทัวร์อินเดีย
• ทัวร์อินเดีย รวมโปรแกรมท่องเที่ยวอินเดีย สังเวชณียสถาน แคชเมียร์ เลห์ลาดัก สิกขิม ถ้ำอชันตา ราชสถาน ไหว้พระพิษเนศ 8 ปาง ตามรอยคนไทยในอัสสัม เมืองโอริสสา
โอริสสา
• โอริสสา รัฐโอริสสาบันทึกว่าพระเจ้าอโศกมหาราชได้ส่งครอบครัวชาวเมืองกาลิงคะ 8 ครอบครัว ร่วมไปกับพระสังฆมิตตาเถรี บุตรี นำกิ่งของต้นพระศรีมหาโพธิ์ไปยังประเทศลังกา
• อินเดีย เที่ยวอินเดีย
• แคชเมียร์ แดนแดนโรแมนติก
• สถานที่ท่องเที่ยวอินเดีย
• เดลี ประตูชัย ตลาดจันปาท
• วัดอัครชาดาม วัดดอกบัว
• หอคอยกุตับมินาร์ มรดกโลก
• อินเดีย เส้นทางพระพุทธศาสนา
• เลห์ ลาดัก อ้อมกอดแห่งหิมาลัย
• เส้นทางรัฐมหาราช
• เส้นทางรัฐโอริสสา
• รัตนะคีรี อุทัยคีรี ลาลิตคีรี
• ทัวร์โอริสสา ทะเลสาบชิริกา
• สิกขิม สวิสเซอร์แลนด์แห่งเอเชีย
• รัฐราชสถาน เมืองมหาราชา
• เส้นทางรัฐอัสสัม
ทัวร์โปรโมชั่น

สอบถามทัวร์ทาง Line
• บริษัท โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์ จำกัด
23/121 ซอยนวมินทร์ 161 แยก1-4  ถนนนวมินทร์  แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม  กรุงเทพฯ  10230
โทร. 0-2969 3664, 02-949 5134-36  (ใบอนุญาตนำเที่ยวเลขที่ 11/5028)

• ID LINE : @oceansmiletour
• คุณเล็ก โทร.082-3656241
• ID Line : lekocean2
• คุณโจ้ โทร.093-6468915
• ID Line : oceansmile
• รับทำกรุ๊ปเหมา เที่ยวส่วนตัว ดูงาน
• ประเทศจีน (ทุกเมือง) อินเดีย (ทุกเมือง)
• เนปาล ภูฏาน บาหลี ศรีลังกา ลาว กัมพูชา เวียดนาม พม่า
• โปรแกรมทัวร์
ทัวร์อู่ฮั่น หุบเขาเทวดา • WUHAN541 : อู่ฮั่น หุบเขาเทวดาวั่งเซียนกู่ ยุทธการผาแดง ล่องเรืออู้หลี่โจว หมู่บ้านหวงหลิ่ง พระใหญ่ตงหลิง
• วันที่ 17 – 21 พฤศจิกายน 2566
• วันที่ 24 - 28 พฤศจิกายน 2566
ทัวร์แชงกรีล่า • TG-651 : คุนหมิง ต้าหลี่ ลี่เจียง แชงกรีล่า ภูเขาหิมะมังกรหยก เมืองโบราณลี่เจียง (TG)
• วันที่ 3 - 8 ธันวาคม 2566
• วันที่ 31 ธันวาคม - 5 มกราคม 2567
ทัวร์ซีอาน
ซานซี อูไถซาน
ทัวร์ซีอาน
ทัวร์เส้นทางสายไหม • CANAT29 : ซีอาน ลั่วหยาง เส้นทางสายไหม จางเย่ ภูเขาสีรุ้ง ด่านเจียยี่กวน ตุนหวง ทูรูฟาน อูรูมูฉี (บินภายใน)
• วันที่ 10 - 19 พฤศจิกายน 2566
ทัวร์พุทธคยา • INDIA-545 : พุทธคยา ราชคฤห์ นาลันทา พาราณสี คงคาอารตี สารนาท (บินตรงพุทธคยา 5 วัน B3)
• วันที่ 30 ธันวาคม - 3 มกราคม 2567
ทัวร์พุทธคยา • INDIA-879 : อินเดีย เนปาล พุทธคยา ราชคฤห์ กุสินารา ลุมพินี สาวัตถี แม่น้ำคงคา พารานสี (บินตรงพุทธคยา B3)
• วันที่ 30 ธันวาคม - 6 มกราคม 2567
ทัวร์อินเดีย • INDIA-877 : ทัวร์อินเดีย เนปาล พุทธคยา ราชคฤห์ กุสินารา ลุมพินี สาวัตถี พารานสี (บินตรงพุทธคยา WE)
• วันที่ 30 ธันวาคม - 6 มกราคม 2567
• วันที่ 24 กุมภาพันธ์ – 2 มีนาคม 2567
ทัวร์ถ้ำอชันต้า • INDIA-503 : ทัวร์ถ้ำอชันตา ถ้ำเอลโลร่า ไหว้พระพิฆเนศ ออรังกาบัด ถ้ำช้าง ถ้ำกัณเหรี มุมไบ
• วันที่ 7 - 12 ธันวาคม 2566
• วันที่ 22 – 27 กุมภาพันธ์ 2567
ทัวร์ทิเบต รถไฟหลังคาโลก • TIBET51 : ทิเบต ลาซา วังโปตาลา รถไฟหลังคาโลก ซีหนิง หลานโจว ซีอาน โชว์เส้นทางสายไหม (TG)
• วันที่ 3 - 10 ธันวาคม 2566
ทัวร์ทิเบต • TIBET105 ทิเบต ลาซา รถไฟหลังคาโลก เส้นทางสายไหม หลานโจว ภูเขาสายรุ้ง ถ้ำตุนหวง (TG)
• วันที่ 10 - 20 ธันวาคม 2566
ทัวร์นครวัด • KHM-1 : ปราสาทนครวัด นครธม พนมกุเลน ปราสาทตาพรหม ปราสาทบันทายสรี ล่องเรือโตนเลสาบ
• เดินทางได้ทุกวัน
ทัวร์หุบเขาเทวดา • WUHAN659 : อู่ฮั่น จิ่วเจียง วัดตงหลิง หมู่บ้านหวงหลิ่ง หุบเขาเทวดาวั่งเซียนกู่ ภูเขาหลิงซาน ยุทธการผาแดง
• วันที่ 8 - 13 ธันวาคม 2566
• วันที่ 22 - 27 กุมภาพันธ์ 2567