|
ʶҹͧǨѧѴ§ |
طҹ觪ҵͺǧ § |
|
|
|
|
ͺǧ |
ͺǧ |
ͺǧ |
ٹԡùѡͧ |
طҹ觪ҵͺǧ
վ鹷ͺ㹷ͧͨͧ
ʹ ѧѴ§ ҾҷóкȷءС
դ§ Ȩҧҵ դسҷҧҳշҧѵʵ
ŻѲͧªҵ 駷ҧ óԷФسҷҧʶһѵ¡ҧҵ
֡Ҥ鹤ҷҧԪҡ ʶҹ ͧǷդسФ§ҧ
ͷҳ 345,625 553 ҧ
㹻 .. 2508 Һdz㹷ͧӺҧ
ʹеӺźҹ ͨͧ ѧѴ§ ʶҹ
ҾԻ§š դȨҧҵ
Сͺ⢴ ӹӷçҹ ͧ˹¡
ͺǧ 繷觻ЪҪͺ仾ѡҵԤ繻Ш
֧Ѵ繷ѡ㨢ͧ ЪҪٻẺͧǹطҹѹ
16 չҤ 2509 㹤Ţͧӹѡҹࢵ§
ǹѴǹطҹͺǧ ʹյʶҹѡͧǡѷ
¹鹡÷ѡԸ§ͧҵӹ
ǹͺǧѧǹ֡ҡ ҡͺǧ˹Ҽ٧ѹ
ӵҡ˹Ҽ٧ ѷ֧駻ҧѡçشͤ
ŧѧǹ ѵԴ͡ѹ
ӹ¡¡ ѡԹ ͧҡӹԹ١˹觨żҹӹӵç¡
ͺǧ 㹻Ѩغѹ ¹
繪ͷ¡ѹءѹ
ҡǹطҹͺǧ 㹤Ţͧͧطҹ觪ҵ
㹵鹻 .. 2531 ¸ç Сͺح ӹ¡áͧطҹ觪ҵ
º觡ǹطҹͺǧԹǨͧ鹾鹷ҧ§ͺǹطҹ
¡ҹШѴطҹ觪ҵ šǨ˹ѧ
0713()/ ŧѹ 27 ¹ 2531
0713()/ ŧѹ 31 Ҥ 2531 §ҹһҨͧ
- л ӡ Ǩ鹷С˹طҹ觪ҵԹ˹繻Ҷâͧҵ
ԤѰ ѹ 21 Զع¹ 2509
С繻ʧǹ觪ҵԵҪѭѵԻʧǹ觪ҵ
.. 2507 Ǥ Ҩͧ繻ʧǹ觪ҵ зǧѺ
212 (.. 2510) С㹾ҪԨҹມ 84
82 ѹ 21 ԧҤ 2510 -繻ʧǹ觪ҵԵзǧѺ
189 (.. 2509) СҪԨҹມ 83
119 ѹ 31 ѹҤ 2509 繻ʧǹ觪ҵԵзǧѺ
712 (.. 2571) С㹾ҪԨҹມ 91
225 ѹ 29 ѹҤ 2517 ͷӡǨҳ 630
ҧ ҾóкȷءСըش蹷ҧҵ§
觷ҧѵʵӤѭ Ѻ
èѴطҹ觪ҵ
ͧطҹ觪ҵ ӡõǨͺ˹ѧ
0713/1403 ŧѹ 24 Ȩԡ¹ 2531 ʹ͡դ觷
824/2531 ŧѹ 2 ѹҤ 2531
Ҿѡҹ 5 价ӡǨСȨѴ駾鹷dzѧطҹ觪ҵ
»СҪԨҹມ 108 211 ŧѹ
4 ѹҤ 2534 طҹ觪ҵӴѺ 68 ͧ
ѡɳԻ
Իǹ˭٧ѹ ѺѺԴ͡ѹ͡˹-
ǹ˹觢ͧ͡ҶµͨҡԹ
˭ ӹ鹡ҧѹࢵҧͨͧʹ
ѧѴ§ Ҿ·繻ҵ鹹Ӹê˹
ŧӹӹԧҧ
Իǹ˭շҺҡ ͧҡ͡ѺѺ٧ѹ
ҡҾ鹷˹Ҽ٧ѹ ⢴ԹҴ˭ҡ
ԹͧСͺͧ鹷 ԹùԵ÷
ѺѺԹŷԹСùԵԴԤ䷴ 㹪شԹԤͧؤ
դ Сͺ ʴʻ 㹷ͧԹҴ˭ҡ
ӹӨҴԴҡӾѴ繪ǧ
աԹǴͧӢͧԹ䫴
ԹԴ ˹
ѡɳҡ
Ҿҡࢵطҹ觪ҵ͡
3 Ĵ١ Ĵٽ Ҥ-Ҥ
Ĵ˹ Ȩԡ¹-Ҥ سԵشҳ
6 ͧ Ĵ Ҿѹ-¹
תóѵ
ͧҡҾշ駻ອó ѧ
ҴԺ ҴԺ лʹ ֧վѹᵡҧѹªԴ
ѡ ҧ д ᴧ ¹ Ф
紴 ᴧ á Թ кҡ ӻջ ջ
Թ § ǧ ѧ ʹ 繵
͡ҡѧСš͵ҧ תҧӤѭ
ѵҷ辺 §
ҧ ٻ й ԧ е»
СǴ չҹҪԴҳ 200 Դ ҧࢹ
˭ Ǣҹ лٴ عͧ
٧ з 繵
觷ͧ
Թᴹ¡ѵʵ
§Ѻͧ᤺ͺǧ ͧҳ Żҡ
зǧ֡Ҹԡ ش֡ԨѺȽ
ͧ Research on Chronology and Evolution of the Prehistoric
Cultures of Northern Central Thailand and their Antropological
Characteristics çõ .. 2527 繵
dzͺǧ ͧͨͧ нʹ ش鹾ҳѵѡҹҧҳ¡ѵʵӹǹҡ
ͧԹԹԹ ҹԹѴ
ǹ ͧдѺҪԴ ҪдԹ͡Һ
Ӥѭ çд١ͧؤԴ ҧ
2,500 - 3,500 ʵ
¼Ҫҧ
ԹùԵԴԤ䷴ ˭
չӵŴ ǻҳ 300 ٧ҳ 80 ҡдѺ鹴Թ
ѡɳҧ˭ͺ ʹ¼Ҫҧ繨ش
ͧŧ价ҧ繹ӵǤԺ ҵç˹
¼Ҫҧ繷ҧǧ蹴ԹŢ 108 ŴºҼҹ˹Ҽͺǧ
֡ҡͺǧŧ仨ͧ¸Ťǫ͡ԹѺ价ҧȵѹ͡
dz¼Ҫҧҹѹ ԧҤ¶繷¢ͧҳѵʵҴҾҧբᴧ
ҡ§ҹͧѡҳ Żҡѹ繤á辺Ҿ¹ҳ㹾鹷Ҥ˹͵ࢵѧѴ§
(áͻ .. 2527 ¹ѹ êҭԵ
й»зջ 秵 ѡҳսԪҡáͧҳ)
ѹɰҹҾ¹¡ 7,500 - 8,500
ͺǧ
çѡ÷
17 ͧҧǧ 蹴ԹŢ 108 ҺҧӺҧ
ʹ Ӻźҹ ͨͧ 繪ͧ᤺ҢҴ˹ҼԹҺӹ
Դغ֡ ֡ͧ˹ҼѴҡоҹ ͺǧ֧дѺӻԻҳ
32 ǹ᤺ش 2 Ǣͧͧ᤺ҳ 300
ҵҧäҾǧѺ蹴ԹǹҧȨ
ͺ ͺ ҷͧ¶֧ͧ᤺
ǧ ¶֧ ˭ ͺǧ ͪз¡ͧ᤺ԹҴѡӹպáҹ
ա˹觤 غ ¸żҹ (Canyon) ͺ
ӷ赡仡зԹͧӨСШ¿§ѧʹǵʹ
ҹԹáҷ١ѹǡҡѴǻ
ԹѡɳǴٻҧš§ҡ ͧǧҡᾧԹ٧˭ҧӹ
ᵡ¡Ӽҹҧ
ӵǤ
ԴҡǤࢵӺҧ ʹ
ҧҡͺǧ价ҧҳ 2 繹ӵ§
դóҧҵҡӵҡ˹Ҽ٧ҳ
50 ŴŧԧŧҧԹ觫
ҹ˹ҹӵҹԹҧ
ӵ
Դҡǧ ࢵӺźҹ ͨͧ
ҡҧǧ蹴ԹŢ 108 ʹ - § çѡ
9 Թ 任ҳ 1 ж֧ӵ٧˭駵˧ҹ
ѡɳ蹢ͧӵ˹Ҽҷҧ˭դ٧¡
100 ҧҳ 80 ӵ赡ŧ
Ш蹼ҹԹҧҴ ˹ҹӵ§ҡԹùԵԹբ
٧仨ҡӵ鹹ѧչӵ §šաͧҧҳ
500 1,500 ӴѺ
ӵ
dzҧ֡еҧ㹷ͧӺŴ
ͨͧ 繹ӵ§ ٧ҳ 80 ҧ
40 ҡʹ ӵդʹ
ѡͧǵͧԹҧҡҹ任ҳ 8
ࢵ ӺҼ ҧҡ ͺǧ
14 ¡ҡҧǧŢ 108 ç÷ 22
աҳ 9 繺ҵԴҡ
çѹ觢ҡзԹԴʹ
٧֧ 99 ͧ dz繷Һ¹ҳ
10 żҹ ֧շ駸ùй繺dzǡѹ
ӵͧ
㹷ͧӺźҹ ͨͧ ¼º ԹùԵԹٹٻҧ١Ҥ¡ѹ褹нӹ
աҧ觢ն֡յӹҹҢҹѹ ӹԹդҡҷض֧§Ƿҧ˹ͧ͢ѧѴ§
dzҡ繤ҢҴҳ 5 X 10 ٧ 3
֡仨ҡçԹ Ҵ͵Ǥҹ
Ҿ㹤һҡӶ١ʡѴʶҹ軯ԺѵԸͧӹѡԻʹҶӵͧ
ͺغ ¾ѹҴԺբҴ˭
ǧ ¹ͧ Ҵ з ˹Ҷոùżҹ
觵ҧҡӵͧ任ҳ 1 ѡɳ繹ӵ
ӵ
㹷ͧӺ ͨͧ 繶ԹٹҴ
ҡ᤺ҧǻҳ 1 X 1.5 ͧͧ
㹡ҧҧٻҧҧ ⱢҴ˭èҳ
20-30 չ´ҡྴҹӵʹ ԴԹ͡ Թ
dzྴҹ价ҧ鹶ӷǧ˭ 3 ͧԴѹ
֧ҧ״ֺ·
ӹ
ùѡԹ Դҡ͡ࢵѧѴͧ
żҹ͡ӻԧʹ ӹ˭չǤҧ⢴غ
ҧӹ ѺѺҴ¢ǷǻǢ͡ѺѺ
ӹշȹҾ§ ѡͧǹͧ
ҡҹٶ֧ҹ㹷ͧ繻Ш
ҹѡ-ԡ
طҹ觪ҵͺǧ պҹѡ ҹШѴʶҹҧ繷ԡùѡͧ
Թҧ
ö¹ ҡѧѴ§Թҧö¹仵ҧǧ蹴ԹŢ
108 ֧ʹ Ǣҵçԡ仵ҧʹ-§
ҡʹա 17 ж֧ӡطҹ觪ҵ
зҧҳ 105
öûШӷҧ ö¹ (ͻѺҡ)
¡ا-ͧ ҡا ֧Թ ѧѴҡ
¡ ѧѴӾٹ ҡ ʹ
ʹ ѧѴ§ ʹա 17 鹷ҧʹ-§-ͧ
ж֧ӡطҹ觪ҵ ǡѹ
ʶҹԴ
طҹ觪ҵͺǧ .ҧ .ʹ
.§ 50240 Ѿ 0 5322 9272 |
|
|
|
|
ͺǧ |
ͺǧ |
ͺǧ |
ͺǧ |
|
|
|
|
ͺǧ |
ǹʹ |
ǹʹ |
鹷ҧͺǧ |
ʶҹշͧ١ó (ǹʹ)
ǹʹ 躹鹷ҧʹ - §
÷ 36 (ͺǧŤѺ) ǹʹǹ˹觢ͧçǨѵشԺͷ͡дŧͧ١תӾǡʹ
٤Ժ ͷ 2,072 ҡȢͧ繵ʹ
ǹʹ §·ʹ١ҧº
֧dzʶҹջ١ʹʶҹͧǷѺ˹
Թҧ ҡö¹ǹööШӷҧտ§
- ʹ - ŧ˹ʶҹѺ |
|
§ ѧѴ§ ç§ ¹Ӵѧ Թ ҧҧ

ͺҧ Line |
Դ¹ (ԴӡǤѺ)
㹻-ҧ ٧ҹ ǹ
ӹѡҹ.0-2969 3664, 0-2949 5134-36
ID LINE : @oceansmiletour
س .082-3656241
ID Line : lekocean2
س .093-6468915
ID Line : oceansmile |
|
|
|
ออบหลวง รูปและข้อมูล แม่น้ำสลักหิน สวนสนบ่อแก้ว
บริษัททัวร์ โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์
 |
|
|
•
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ |
•
อุทยานแห่งชาติออบหลวง เชียงใหม่ |
|
|
|
|
ออบหลวง |
ออบหลวง |
ออบหลวง |
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว |
อุทยานแห่งชาติออบหลวง
มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ในท้องที่อำเภอจอมทอง
อำเภอฮอด และอำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ มีสภาพป่าที่สมบูรณ์ด้วยระบบนิเวศทุกประการ
ทั้งมีความสวยงาม และ ความมหัศจรรย์ทางธรรมชาติ มีคุณค่าทางโบราณคดีทางประวัติศาสตร์
ศิลปวัฒนธรรมของมนุษยชาติ ทั้งทาง ธรณีวิทยาและคุณค่าทางสถาปัตยกรรมทางธรรมชาติ
เหมาะแก่การศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ และเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวที่มีคุณค่าและความสวยงามอย่างยิ่ง
มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 345,625 ไร่ หรือ 553 ตารางกิโลเมตร
ความเป็นมา ในปี พ.ศ. 2508 กรมป่าไม้เห็นว่าบริเวณริมถนนในท้องที่ตำบลหางดง
อำเภอฮอดและตำบลบ้านแปะ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถานที่ร่มรื่น
สภาพภูมิประเทศสวยงามแปลกตา มีความมหัศจรรย์ทางธรรมชาติ
ประกอบด้วยโขดผา แมกไม้และลำน้ำที่ไหลแรงผ่านหลืบเขา ที่ชาวเมืองเหนือเรียกว่า
“ออบหลวง” เป็นที่ซึ่งประชาชนชอบไปพักผ่อนชมธรรมชาติความรื่นรมย์อยู่เป็นประจำ
จึงได้จัดให้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของ ประชาชนในรูปแบบของวนอุทยานตั้งแต่วันที่
16 มีนาคม 2509 อยู่ในความดูแลของสำนักงานป่าไม้เขตเชียงใหม่
ในส่วนที่ได้จัดตั้งเป็นวนอุทยานออบหลวง ในอดีตเป็นสถานที่พักของพวกทำไม้บริษัทบอร์เนียว
ซึ่งในสมัยนั้นการทำไม้สักใช้วิธีลำเลียงล่องมาตามลำน้ำแม่แจ่ม
ไม้จะมาวนอยู่ที่ออบหลวงซึ่งเป็นวังน้ำวนและลึกมาก จากออบหลวงที่มีหน้าผาสูงชัน
น้ำตกจากหน้าผาสูง บริษัททำไม้จึงตั้งปางพักตรงจุดนี้เพื่อคอยเก็บไม้ที่ไหลมา
ไม่ให้ไหลลงไปวังน้ำวน ตามประวัติดั้งเดิมเล่าสืบต่อกันมาว่า
ลำน้ำแม่แจ่มสมัยก่อนเรียกว่า “แม่น้ำสลักหิน” เนื่องจากแม่น้ำนี้ได้เจาะภูเขาหินลูกหนึ่งจนทะลุไหลผ่านเป็นลำน้ำตรงที่เรียกว่า
“ออบหลวง” ในปัจจุบัน ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นแม่น้ำแม่แจ่ม
ซึ่งเป็นชื่อที่เรียกกันอยู่ทุกวันนี้
ต่อมากรมป่าไม้ได้โอนวนอุทยานออบหลวง มาอยู่ในความดูแลของกองอุทยานแห่งชาติ
และในต้นปี พ.ศ. 2531 นายธำมรงค์ ประกอบบุญ ผู้อำนวยการกองอุทยานแห่งชาติ
ได้ให้นโยบายและสั่งการให้วนอุทยานออบหลวงดำเนินการสำรวจเบื้องต้นพื้นที่ข้างเคียงโดยรอบวนอุทยาน
เพื่อยกฐานะจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ ผลการสำรวจตามหนังสือ
ที่ กษ 0713(อล)/พิเศษ ลงวันที่ 27 เมษายน 2531 และ ที่
กษ 0713(อล)/พิเศษ ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2531 รายงานว่าป่าจอมทอง
ป่าแม่แจ่ม-แม่ตื่น และป่าแม่แจ่ม ที่ทำการ สำรวจพื้นที่จะกำหนดเป็นอุทยานแห่งชาตินี้แต่เดิมได้กำหนดให้เป็นป่าถาวรของชาติ
ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2509
ต่อมาได้ประกาศเป็นป่าสงวนแห่งชาติตามพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ
พ.ศ. 2507 กล่าวคือ ป่าจอมทองเป็นป่าสงวนแห่งชาติ ตามกฎกระทรวงฉบับที่
212 (พ.ศ. 2510) ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษาเล่ม 84 ตอนที่
82 วันที่ 21 สิงหาคม 2510 ป่าแม่แจ่ม-แม่ตื่นเป็นป่าสงวนแห่งชาติตามกฎกระทรวงฉบับที่
189 (พ.ศ. 2509) ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 83 ตอนที่
119 วันที่ 31 ธันวาคม 2509 ป่าแม่แจ่มเป็นป่าสงวนแห่งชาติตามกฎกระทรวงฉบับที่
712 (พ.ศ. 2571) ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษาเล่ม 91 ตอน
225 วันที่ 29 ธันวาคม 2517 เนื้อที่ทำการสำรวจประมาณ 630
ตารางกิโลเมตร มีสภาพป่าสมบูรณ์ด้วยระบบนิเวศทุกประการมีจุดเด่นทางธรรมชาติสวยงาม
และเป็นแหล่งทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยิ่ง เหมาะสมสำหรับ
การจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติได้
กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ได้ทำการตรวจสอบและได้มีหนังสือ
ที่ กษ 0713/1403 ลงวันที่ 24 พฤศจิกายน 2531 เสนอกรมป่าไม้มีคำสั่งที่
824/2531 ลงวันที่ 2 ธันวาคม 2531 ให้ นายไชโย ยิ่งเภตรา
เจ้าพนักงานป่าไม้ 5 ไปทำการสำรวจข้อมูลเพิ่มเติมและได้ประกาศจัดตั้งพื้นที่บริเวณดังกล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 108 ตอน 211 ลงวันที่
4 ธันวาคม 2534 เป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 68 ของประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศ
ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงชัน สลับซับซ้อนติดต่อกันเป็นเทือกเขายาวในแนวเหนือ-ใต้
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาถนนธงชัยต่อจากดอยอินทนนท์
มีแม่น้ำสายใหญ่ คือ ลำน้ำแม่แจ่มกั้นกลางอันเป็นเขตแบ่งระหว่างอำเภอจอมทองและอำเภอฮอด
จังหวัดเชียงใหม่ สภาพโดยทั่วไปเป็นป่าต้นน้ำลำธารชั้นหนึ่ง
มีลำห้วยหลายสายไหลลงลำน้ำแม่แจ่มและลำน้ำแม่ปิงตอนล่าง
ภูมิประเทศส่วนใหญ่มีที่ราบน้อยมาก เนื่องจากเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อนและสูงชัน
จากสภาพพื้นที่เป็นภูเขาหน้าผาสูงชัน และมีโขดหินขนาดใหญ่น้อยมากมาย
หินที่เป็นองค์ประกอบของพื้นที่ได้แก่ หินแกรนิตและแกรโนไดออไรท์
สลับกับหินซอลท์และหินตระกูลแกรนิตชนิดมิคมาไทด์ ในชุดหินบลูโตนิคของยุคครีเตเซียส
และไทรแอสสีค ประกอบด้วยแร่ควอร์ท และเฟสด์สปาร์ ในท้องน้ำแม่แจ่มมีเกาะแก่งหินขนาดใหญ่มากมาย
ริมฝั่งลำน้ำจะมีหาดทรายเกิดจากน้ำพัดพามาเป็นช่วงๆ หลายแห่ง
มีก้อนหินกลมประเภทกรวดห้องน้ำของหินควอร์ทไซด์ ควอร์ทแจสเปอร์
และหินชนิดอื่นๆ อยู่หนาแน่น
ลักษณะภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศในเขตอุทยานแห่งชาติแบ่งออกเป็น
3 ฤดูกาล คือ ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม-เดือนตุลาคม
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน-เดือนมกราคม มีอุณหภูมิต่ำสุดประมาณ
6 องศาเซลเซียส ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์-เดือนเมษายน
พืชพรรณและสัตว์ป่า
เนื่องจากสภาพป่ามีทั้งป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง
ป่าดงดิบแล้ง ป่าดงดิบเขา และป่าสนเขา จึงมีพันธุ์ไม้แตกต่างกันหลายชนิด
เช่น สัก ยาง ประดู่ แดง ตะเคียน ยมหอม มะค่าโมง มะเกลือ
ขะเจ๊าะ เก็ดดำ เก็ดแดง รกฟ้า อินทนิล กะบาก จำปีป่า สารภีป่า
แคหิน เหียง พลวง เต็ง รัง และไม้สนเขาหรือเกี๊ยะ เป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีไม้ตระกูลก่อต่างๆ พืชพื้นล่างที่สำคัญมี
ไผ่ ปาล์ม และเฟิร์น
สัตว์ป่าที่พบเห็นได้แก่ เลียงผา เสือ
หมี กวางป่า หมูป่า เก้ง ชะนี ลิง ชะมด กระต่ายป่า นิ่ม
ตะกวด และมีนกนานาชนิดประมาณ 200 ชนิด เช่น นกกางเขนดง นกพญาไฟ
นกเขาใหญ่ นกเขาเขียว นกดุเหว่า นกหัวขวาน นกกะปูด นกขุนทอง
นกแก้ว เหยี่ยวรุ้ง นกยูง ไก่ฟ้า ไก่ป่า นกกะทา เป็นต้น
แหล่งท่องเที่ยว
• ดินแดนมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์
อยู่ใกล้เคียงกับช่องแคบออบหลวง กองโบราณคดี กรมศิลปากร
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ขุดค้นเพื่อศึกษาวิจัยร่วมกับประเทศฝรั่งเศส
เรื่อง Research on Chronology and Evolution of the Prehistoric
Cultures of Northern Central Thailand and their Antropological
Characteristics โดยเริ่มโครงการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 เป็นต้นมา
บริเวณออบหลวง ทั้งสองฝั่งอำเภอจอมทอง และฝั่งอำเภอฮอด ได้ขุดค้นพบโบราณวัตถุและหลักฐานทางโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์จำนวนมาก
เช่น เครื่องมือหินกระเทาะแกนหินและสะเก็ดหิน ขวานหินขัด
ชิ้นส่วน เครื่องประดับและภาชนะสำริด ภาชนะดินเผาลายเชือกทาบ
ที่สำคัญคือ พบโครงกระดูกของมนุษย์ในสมัยยุคสำริด มีอายุระหว่าง
2,500 - 3,500 ปี ก่อนคริสตกาล
• ดอยผาช้าง
เป็นหินแกรนิตชนิดมิคมาไทด์ทั้งแท่ง ก้อนใหญ่มหึมา
สีน้ำตาลดำ ยาวประมาณ 300 เมตร สูงประมาณ 80 เมตร จากระดับพื้นดิน
มีลักษณะเหมือนช้างตัวใหญ่นอนหมอบอยู่ บนยอดดอยผาช้างเป็นจุดชมวิว
มองลงไปทางทิศใต้จะเห็นน้ำตกแม่บัวคำอยู่ลิบๆ ใกล้เข้ามาตรงหน้า
ดอยผาช้างเห็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 ลดเลี้ยวเลียบเหลี่ยมเขาผ่านหน้าผาออบหลวง
ลึกจากผาออบหลวงลงไปจะมองเห็นสายธารแม่แจ่มไหลคดเคี้ยวซอกซอนผาหินหายลับไปทางทิศตะวันออก
บริเวณดอยผาช้างด้านตะวันตก มีเพิงผาคล้ายถ้ำเคยเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์โบราณก่อนประวัติศาสตร์และได้วาดภาพช้างด้วยสีขาวและสีแดงไว้
จากรายงานของนักโบราณคดี กรมศิลปากรยืนยันว่าเป็นครั้งแรกที่พบภาพเขียนโบราณในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนในเขตจังหวัดเชียงใหม่
(พบครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2527 โดยนายสายันต์ ไพรชาญจิตร
และนายประทีป เพ็งตะโก นักโบราณคดีฝ่ายวิชาการกองโบราณคดี)
สันนิษฐานว่าภาพเขียนนี้มีอายุไม่น้อยกว่า 7,500 - 8,500
ปี มาแล้ว
• ออบหลวง
ตั้งอยู่ที่ตรงหลักกิโลเมตรที่
17 ของทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 108 คาบเกี่ยวระหว่างตำบลหางดง
อำเภอฮอด ตำบลบ้านแปะ อำเภอจอมทอง เป็นช่องแคบเขาขาดที่มีหน้าผาหินขนาบลำน้ำ
ทำให้เกิดหุบผาลึก ความลึกของหน้าผาวัดจากสะพาน ออบหลวงถึงระดับน้ำปกติประมาณ
32 เมตร ส่วนแคบสุด 2 เมตร ความยาวของช่องแคบประมาณ 300
เมตร ธรรมชาติได้สร้างสรรความน่าพิศวงให้กับแผ่นดินส่วนนี้อย่างมหัศจรรย์
คำว่า “อ๊อบ” หรือ “ออบ” เป็นภาษาท้องถิ่นหมายถึงช่องแคบ
“หลวง” หมายถึง ใหญ่ “ออบหลวง” คือชื่อเฉพาะที่ใช้เรียกช่องแคบหินขนาดยักษ์ที่มีลำน้ำแม่แจ่มบีบตัวแทรกผ่านไป
อีกนัยหนึ่งคือ หุบเขา ที่มีสายธารไหลผ่าน (Canyon) ภายในออบ
น้ำที่ตกไปกระทบแก่งหินละอองน้ำจะกระจายฟุ้งเสียงดังสนั่นหวั่นไหวตลอดเวลา
ลานหินและโตรกผาที่ถูกน้ำอันเชี่ยวกรากกัดกร่อนปีแล้วปีเล่า
ทำให้หินมีลักษณะเป็นลวดลายรูปร่างแปลกตาสวยงามมาก ทำให้ผู้ไปเยือนต้องพิศวงว่ากำแพงหินสูงใหญ่ที่ขวางลำน้ำอยู่นั้น
แตกทะลุหรือแยกตัวให้น้ำผ่านไปได้อย่างไร
• น้ำตกแม่บัวคำ
เกิดจากห้วยแม่บัวคำอยู่ในเขตตำบลหางดง อำเภอฮอด
ห่างจากออบหลวงไปทางทิศใต้ประมาณ 2 กิโลเมตร เป็นน้ำตกที่สวยงาม
มีความสมบูรณ์ทางธรรมชาติอยู่มากน้ำตกจากหน้าผาสูงประมาณ
50 เมตร ลดหลั่นลงมาเป็นเพิงชั้นลงสู่อ่างหินซึ่งซ่อนตัวอยู่ในหลืบผาและแมกไม้
ด้านหน้าน้ำตกมีลานหินกว้าง
• น้ำตกแม่จอน
เกิดจากห้วยแม่จอนหลวง อยู่ในเขตตำบลบ้านแปะ อำเภอจอมทอง
จากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 สายฮอด - แม่สะเรียง ตรงหลักกิโลเมตร
ที่ 9 เดินตามลำห้วย แม่จอนเข้าไปประมาณ 1 กิโลเมตร ก็จะถึงน้ำตกสูงใหญ่ตั้งตระหง่านอยู่
ลักษณะเด่นของน้ำตกนี้เป็นหน้าผาที่กว้างใหญ่มีความสูงไม่น้อยกว่า
100 เมตร ความกว้างประมาณ 80 เมตร น้ำตกที่ตกลงมาเป็นสายเหมือนใยแก้ว
แผ่กระจายอยู่ทั่วแผ่นผาและลานหินกว้างไม่ขาดสาย หน้าน้ำตกสวยงามมากเป็นหินแกรนิตผสมหินแปรสีขาวเจือสีเทาอ่อน
สูงขึ้นไปจากน้ำตกชั้นนี้ยังมีน้ำตกเล็ก ๆ สวยงามแปลกตาอีกสองชั้นอยู่ห่างประมาณ
500 เมตร และ 1,500 เมตร ตามลำดับ
• น้ำตกแม่เตี๊ยะ
อยู่บริเวณกลางป่าลึกในห้วยแม่เตี๊ยะตอนกลางในท้องที่ตำบลดอยแก้ว
อำเภอจอมทอง เป็นน้ำตกที่สวยงาม สูงประมาณ 80 เมตร ความกว้าง
40 เมตร น้ำในห้วยแม่เตี๊ยะมีมากตลอดปี ทำให้น้ำตกมีความงามตลอดเวลา
นักท่องเที่ยวต้องเดินทางจากบ้านแม่เตี๊ยะเข้าไปประมาณ 8
กิโลเมตร
• บ่อน้ำร้อนเทพพนม
อยู่ในเขตป่าแม่แจ่ม ตำบลห่าผา อำเภอแม่แจ่ม ห่างจาก ออบหลวง
14 กิโลเมตร แยกจากทางหลวงหมายเลข 108 ตรงกิโลเมตรที่ 22
เข้าไปอีกประมาณ 9 กิโลเมตร เป็นบ่อน้ำร้อนธรรมชาติเกิดจากความร้อนใต้พิภพ
มีแรงดันพุ่งขึ้นมากระทบน้ำเย็นใต้ดินเกิดเป็นไอร้อนคุอยู่ตลอดเวลา
ความร้อนสูงถึง 99 องศาเซลเซียส บริเวณเป็นที่ราบโล่งเตียนประมาณ
10 ไร่ มีลำห้วยเล็ก ๆ คือ ห้วยโป่งไหลผ่าน จึงมีทั้งธารน้ำร้อนและน้ำเย็นบริเวณเดียวกัน
• ถ้ำตอง
อยู่ในท้องที่ตำบลบ้านแปะ อำเภอจอมทอง “ดอยผาเลียบ” เป็นภูเขาหินแกรนิตและหินปูนที่มีรูปร่างเหมือนถูกผ่าครึ่งแล้วแยกกันอยู่คนละฝั่งลำน้ำแม่แปะ
ซีกที่อยู่ทางฝั่งขวามีถ้ำลึกที่มีตำนานเล่าขานกันว่า ถ้ำนี้เป็นอุโมงค์หินที่มีความยาวมากกล่าวว่าทะลุถึงดอยเชียงดาวทางเหนือของจังหวัดเชียงใหม่ทีเดียว
บริเวณปากอุโมงค์เป็นคูหาขนาดประมาณ 5 X 10 เมตร สูง 3 เมตร
ลึกเข้าไปจากนั้นเป็นโพรงหินเล็ก ๆ ขนาดพอตัวคนคลานเข้าไปได้
สภาพภายในคูหาปากถ้ำถูกสกัดตกแต่งใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมของสำนักวิปัสสนาถ้ำตอง
โดยรอบในหุบเขา ร่มครึ้มด้วยพันธุ์ไม้ป่าดงดิบที่มีขนาดใหญ่
ๆ เช่น มะม่วงป่า ตะเคียนทอง มะหาด กระท้อน หน้าถ้ำมีธารน้ำแม่แปะไหลผ่าน
ซึ่งต้นแม่น้ำแปะห่างจากถ้ำตองขึ้นไปประมาณ 1 กิโลเมตร มีลักษณะเป็นน้ำตกเล็ก
ๆ
• ถ้ำตุ๊ปู่
อยู่ในท้องที่ตำบลแม่สอย อำเภอจอมทอง เป็นถ้ำหินปูนขนาดเล็ก
ปากถ้ำแคบกว้างยาวประมาณ 1 X 1.5 เมตร ต้องนั่งยอง ๆ เข้าไป
ภายในกว้างขวางรูปร่างค่อนข้างกลมเหมือน คณโฑขนาดใหญ่บรรจุได้ประมาณ
20-30 คน มีน้ำหยดจากเพดานถ้ำตลอดเวลา ทำให้เกิดหินงอก หินย้อยอยู่ทั่วไป
บริเวณเพดานค่อนไปทางก้นถ้ำทะลุเป็นวงกลมใหญ่ ๆ 3 ช่องติดกัน
จึงทำให้ถ้ำสว่างไสวไม่มืดทึบเหมือนถ้ำโดยทั่วไป
• ลำน้ำแม่แจ่ม
ธารน้ำแจ่มหรือแม่น้ำสลักหิน กำเนิดจากเทือกเขาในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ไหลผ่านอำเภอแม่แจ่มออกสู่แม่น้ำปิงที่อำเภอฮอด เป็นลำน้ำใหญ่ที่มีน้ำไหลเชี่ยวคดเคี้ยวไประหว่างโขดเขาและหุบผา
มีเกาะแก่งอยู่กลางลำน้ำ สลับกับหาดทรายขาวทิวป่าเขียวขจีและเทือกเขาสลับซับซ้อน
ทำให้ลำน้ำแม่แจ่มมีทัศนียภาพสวยงามยิ่ง นักท่องเที่ยวนิยมไปล่องแพ
จากบ้านอมขลูถึงบ้านท่าเรือในท้องที่อำเภอแม่แจ่มอยู่เป็นประจำ
บ้านพัก-บริการ
อุทยานแห่งชาติออบหลวง มีบ้านพัก ร้านอาหารและจัดสถานที่กางเต็นท์ไว้บริการนักท่องเที่ยว
การเดินทาง
รถยนต์ จากจังหวัดเชียงใหม่เดินทางโดยรถยนต์ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
108 ถึงอำเภอฮอด แล้วเลี้ยวขวาตรงหอนาฬิกาไปตามทางสายฮอด-แม่สะเรียง
จากอำเภอฮอดไปอีก 17 กิโลเมตร จะถึงที่ทำการอุทยานแห่งชาติ
ระยะทางประมาณ 105 กิโลเมตร
รถโดยสารประจำทาง โดยรถยนต์โดยสาร (ธรรมดาหรือปรับอากาศ)
สายกรุงเทพ-แม่ฮ่องสอน จากกรุงเทพฯ ถึงอำเภอเถิน จังหวัดตาก
แล้วแยกเข้าอำเภอลี้ จังหวัดลำพูน จากอำเภอลี้ เข้าอำเภอดอยเต่า
อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ เลยฮอดไปอีก 17 กิโลเมตร ตามเส้นทางฮอด-แม่สะเรียง-แม่ฮ่องสอน
ก็จะถึงที่ทำการอุทยานแห่งชาติ เช่นเดียวกัน
สถานที่ติดต่อ
อุทยานแห่งชาติออบหลวง ต.หางดง อ.ฮอด
จ.เชียงใหม่ 50240 โทรศัพท์ 0 5322 9272 |
|
|
|
|
ออบหลวง |
ออบหลวง |
ออบหลวง |
ออบหลวง |
|
|
|
|
ออบหลวง |
สวนสนบ่อแก้ว |
สวนสนบ่อแก้ว |
เส้นทางสู่ออบหลวง |
สถานีทดลองปลูกพรรณไม้บ่อแก้ว (สวนสนบ่อแก้ว)
สวนสนบ่อแก้ว อยู่บนเส้นทางสายฮอด - แม่สะเรียง
กิโลเมตรที่ 36 (อยู่เลยออบหลวงไปไม่ไกลครับ) สวนสนเป็นส่วนหนึ่งของโครงการสำรวจวัตถุดิบเพื่อทำเยื่อกระดาษและเป็นแปลงทดลองปลูกพืชจำพวกสนสามใบ
และยูคาลิบตัส ในเนื้อที่ทั้งหมด 2,072 ไร่ อากาศของที่นี่ชื้นและเย็นตลอดป
ี สวนสนบ่อแก้ว สวยงามด้วยทิวสนที่ปลูกอย่างเป็นระเบียบงามตา
จึงทำให้บริเวณสถานีปลูกต้นสนกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมแห่งหนึ่ง
การเดินทาง หากไม่มีรถยนตร์ส่วนตัวสามารถนั่งรถประจำทางสีฟ้าสายเชียงใหม่
- ฮอด - ดอยเต่ามาลงที่หน้าสถานีฯได้ครับ |
|
เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โรงแรมเชียงใหม่ ห้วยน้ำดัง ดอยอินทนนท์ ดอยอ่างขาง
ดอยสุเทพเป็นศรี
ประเพณีเป็นสง่า บุปผชาติล้วนงามตา งามล่ำค่านครพิงค์ |
•
ข้อมูลท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
•
สถานที่ท่องเที่ยวเชียงใหม่ |
|
|
|
• สวนสัตว์เชียงใหม่ หมีแพนด้า |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ทัวร์โปรโมชั่น

สอบถามทัวร์ทาง Line |
• ติดต่อโอเชี่ยนสไมล์ทัวร์ (เปิดทำการแล้วครับ)
• กรุ๊ปเหมาในประเทศ-ต่างประเทศ สัมนา ดูงาน เที่ยวส่วนตัว
• สำนักงานโทร.0-2969 3664, 0-2949 5134-39
• ID LINE : @oceansmiletour
• คุณเล็ก โทร.082-3656241
• ID Line : lekocean2
• คุณโจ้ โทร.093-6468915
• ID Line : oceansmile |
|
|
|
| |
|
|
|