ѷ ¹
ʶҹͧǨѧѴ§
ѵʵ§
ѵʵԹᴹҹ : ͧ§
Թᴹҹ ¶֧ ҳҺdzСͺͧ˹觷դѹѹҧͭҵͷҧѲ ʹյ ѰҳҳࢵѴਹ ·ҳҨѡҹԭͧ ԷԾ͡ҧҧҧ 件֧Թᴹ§ Ժͧѹ Ѱҹ͹ ѺԹᴹӤѭͧҹҤ˹͵͹ͧ Сͺͧ˭ 觵Ҿʵлѵʵͧ͡ ͧҹҵѹ ᡹Ӥѭ § Ӿٹ ӻҧ § ͧҹҹҵѹդѹ ѹҵҪǧѧµ͹ ǹҹҵѹ͡ ͧͧҹ ͧͧջѵԤҤ¡ѹ á ҧհҹѰ Ҫǧͧͧ դԴѺ ҳҨѡ⢷ ѰҳҨѡҹ 觼ǡ Թᴹйҹ¾ҵšҪҳҨѡҹҹѡ ҳҨѡҹҡŧ ¾һͧԸ¡ͧҧ ˵ؼŴѧ ֡һѵʵҹ ֧ٹҧ ֡§ ͧǧҹ ǹͧйҹաáǾҴԧ件֧ҧ
áҧҳҨѡҹ 㹵鹾طȵɷ ʶһҹ§ .. Ѻ֧Ѩغѹ§ء ֡һѵʵҹҵѲҡѧ
͹ԴҳҨѡҹ㹾طȵɷ ԹᴹҹѰҧ ШµҺҧغҤ˹ حࢵӻԧ͹ ¹¹ࢵҺӡ ҧࢵѧ ͧࢵ ͧࢵӹҹ ͧࢵԧ -ѰѡɳСõ駶蹰ҹШµҺҧغ ͡һԴ ҡõ駶蹰ҹҪҹҹͧѰ˭µҧ ͹ԴҳҨѡҹ Ѱҧջѵʵ繢ͧͧ ح ࢵ Һӻԧ͹ 繴ԹᴹѲҤԭ͹ ҹ ٹҧоطʹŻѲҵ鹾طȵɷ ԭͧح繾鹰ҹͧҳҨѡҹҷСٻѰҳҨѡ ͹ԴѰح 㹺dz§-ӾٹվѲҡѰҴѰԴ ѡҹõ駶蹰ҹͧҳ
   Ǿͧ㹡ͭ 駶蹰ҹШ·Ҥ˹件֧ͧ§ا ͧͧ غҵҧ дѺԭᵡҧѹҡ ǡdzҺ աäҤдǡѲǡҾǡࢵ §-Ӿٹ 繪 Ҫҹҹ͹誹蹨 㹵ӹҹҹҡǶ֧dzԧ෾ٹҧͧ ШйѺʹ෾ 繷ԧʶԵͧջмպþɢͧ йѺͼջ Էѡ෾ ѡͧ§ ֧վԸ§ջ繻Шӷء ͧ¤͹ѧ׺ ࢵҺӻԧդԭдѺٻѰ ѡɳзҧѧդᵡҧ ҧ 觤ͧ͡ 黡ͧСѭ 黡ͧ˹ ׺¡ѹ¡ ѧ
   ͧǡᵡ¢ͧ繼Ҩҡâ¤ԭͧҡͧҧͧح йҧʴҤͧͧح㹺dzԷԾŢͧ ֧ԴѴ ҧйҧաѺعǧѧ Ũҡõ عǧѧо Ѱ ԧ෾ ŧ ѹɰҹѹ ФШѴШ仵еҧҧ Ѱ ѧ㹺dz¢ͺͧح
   ҵԾѹͭҳ駶蹰ҹҤ˹Ҫҹҹ 繡ǡѺͭᶺҾ ѡɳСõ駶蹰ҹѡШҺӻԧ ֧¡ӻԧ ԧ ¶֧ӷժ 繪ҳ㹷Һӻԧ¡ѹ ջҳЪҡù¡ ѡɳеҧҧԴѹ Ѻ繪ҧҵԾѹ 秤 仨ҡԹᴹҹ ͧҹ Ѻü׹繤ǡѺЪ
ҹѰҳҨѡ Ҫǧѧ ..- 㹪ǧ鹾طȵɷ ԹᴹҹѲҡáûͧ ҡ-ѰѰẺҳҨѡ §ٹҧ ѰẺҳҨѡʶһӹҨǺ-Ѱ¡ѹ 㹾طȵɷ ͧҡԴҡóҧѵʵӤѭ ͡µǢͧѰҳͧҡ͹ ѧ ٪ Ǵ ح оء ¢ͧѰҳԴ͡ԴʶһҳҨѡ ͧҵ·Ѳ ҳҨѡԴ㹾طȵɷ Ӥѭ ҹ ⢷ ظ ҳҨѡ÷դ㹾оطʹẺҷԡѧǧǡѹ ʹѧҧѹ͡ѹ ǡѹҧحբͧѵ ֧÷ʧҧҳҨѡ Ѱ⢷ŧ͹ ¶١ǡѺظ ѧҡ ʧҧظҹҧͧ ʧӤѭ ¢ͧ ҵšҪ окšҶ ѵʵҹѰҳҨѡ觵Ѳҡ ҧҳҨѡ ҳҨѡԭͧ С· ҧҳҨѡ (.. -) á͵ҳҨѡҹ繼Ũҡح¡Ѻ¹ ¢ͧѧ»ѵ ʶһͧ§ٹҧ á͵ͧ§͹չþԧ§ .. ʶҺѹҧͧդ׺ͧ ˹ҷٹҧҳҨѡҹ 駷ҧͧûͧ ɰԨ ѧ Ѳ ˵ع֧Ӥѭͧ§繾 Ѻ͡ŷ ҧѧͧ СҧԷԸ §֧ٹҧԭҤ˹׺Ҷ֧Ѩغѹ ҧͧ§ ѧԭҧͧо͢ع˧ѹԨóҷŷ ҷͧ繴 Ъ´šҧͧ§ ˵ط͢ع˧ҧͧ§ ѧͧ §ѺԷԾŨҡ⢷ áҧᾧͧբҴҧ , Тشٹӡҧ ᾧͧ§Ѻ¹仵 ѨغѹٻǴҹ , ҳҨѡҹԭͧ (.. -) ǡҧҪǧѧ Ѻ¾ҡ͹ 繵 ҳҨѡҹԭҧѴ ԭ٧ش¾ҵšҪо;ͧ 觶ؤͧ ѧҡҳҨѡҹҡŧ ¡֧ԭ繻ͤԭҧطʹ ؤͧ ҹҧ ҧѴٹҧ ࢵͧ§ѴѺ ҳѴҡؤͧͧ»ҡѴҧҡ㹻Ѩغѹ ԭ㹾طʹ ѧҧѵ㹾طʹҫդسҷҧŻѲҹ ѴӤѭ Ѵʹ Ѵ਴ǧ Ѵԧ Ѵǹ͡ Ѵؾ 繵 ҧѴҡ¹͡ҡʴԭ㹾оطʹ ѧз͹觤觷ҧɰԨͧҹؤͧ¤ԭԺ⵷ҧɰԨ 仡ѺԭͧͧѰ оҹѺ¾Эҡ͹繵 äҧѰ͢¡ҧҧ վͤҨҡͧ§ 令Ң¶֧ͧء ؤͧ§հҹٹҧäӤѭ ͧҹ ѧҧзҧѹ ֧վͤҨҡءҤҢ·§ ҹ Թ͡§ҴҹҪҵԤͧ͢ ͧ§˹ǺԹҢͧҨҡͧҧ ҧ͹ 仢ѧͧҷҧ͹ҧ㹴Թᴹاظͧͭ ѵպҷäҢͧ ¡¨ҡͧҧ ҳҨѡҪҹ ֧͡ ѧѺءҳҨѡùԹҢͧҶ ٻẺäҢͧ ѵ觢ǧӡѺ ԹҪԴҧ աþ˹ "ʹӼ" 繢ǧšä¹Ӽ վͤҨҡظԹҧҫԹͧʹ ѧ÷ ؤҳҨѡҹԭͧ ѰդԭҧäҡҾɰԨ ֧աͧѧ ѧ ؤҳҨѡҹӹҨ٧ԷԾ͡ҧ ҧҧ ͧ§ا ͧ§ ͧͧ ͧ ͧҹ ѧӹҨŧ¢ͺ Ѱظ ·ʧԴ͡ѹ»ҧҵšҪокšҶ 㹤駹 ҹöִͧͧѪ ҳҨѡҹ (..-) Դ㹪ǧҪǧѧ ѺЭɰҪ鹤ͧҪ з觵ͧ鹢ͧ ǧ 㹪ǧҹ˹觷ҧաѵ컡֧ͧ ТعҧѴ駡ѹͧ ŧҨ繡ѵ Ѫ¢ͧѵԴҡعҧѴûŧЪ ͢عҧŴѵ ͡ѵҪѵ ͡ҡ Ѩ¤ ѧԴҡѭԧçҧͧѰغ ͧҧ ҳҨѡ͡¡ á ͧҪҹը֧ҧʶҾٹҧդ秵ʹ ¡ѵ¡ҧѹѺͧҧ кͭҵ ҧá Ѱ¢ 繵ͧҧкҪ÷ջԷҾ᷹кͭҵ ҳҨѡҹʶһкҪ Ѱ֧͹ŧ
ҹ¾һͧ (..-) Ѻؤ觤͹ͧ͢ҹ 㹪ǧҴѧǹ˭һͧ պҧǧ ظ¡Ѿ ִ§ ¾й¾й³ ͡ҡպҧǧ§ ͧҧ ¡Ѱ ǧ¾طȵɷ ֧鹾طȵɷ ͧҡ繪ǧ ʺѭ ͧ ;䢻ѭºǨ¡ѾһҺҹ ѧӹҨҹҨ֧ ҹҵͧ鹾ҵ¾Һçͧ(..) ֧ .. ¾ҵҡԹ ҹҨ֧ͧҪ ҹ¾һͧ繪ǧҷǹҹ֧ º¢ͧҷ軡ͧҹѺ¹仵͹䢡ͧ㹢ͧ ѺҾͧ㹷ͧҹ
ҹͧҪͧ (.. -) ѧҡʧѺ͡ҡ§ .. ҵҡԹ çͺ᷹դͺ ô 觵 ЭҨҺҹ(ح) 繾ûҡäͧͧ§ ҡФͧͧӻҧ зçͺҭԷͧͧ黡ͧҹͧͧҹ ҧá 㹪ǧ¸ ѧѺִ§ա¤ 觾ЭҨҺҹ ͧѹͧ§ҧ ¼餹Сѧʹҡ ֧ͧ仵蹷ѧӻҧ ҡ鹨֧Ѻ价§;¡ѾѺ ó蹹˹ ;ЭҨҺҹªԵŧ кҷ稾оطʹҨšҪ ֧çô 觵駾ҡͧ§᷹ ҡ蹷§ҫҧ㹾.. ͹ ҡ鹨֧ҵͧ§㹻 .. 繻շ§ؤú 500 ԷԾŢͧҹҶشŧʧѺ . ¡ͧѾҹѺͧѾ¡仵ͧ§ʹ蹢ͧ ҡШ֧鹿ͧ§Ǻͧҵ駶蹰ҹͧ§ ԸաáҴ͹ͧź˹һ СҴ͹餹ҡԺͧѹѰҹ§ §֧鹨ҡҾͧҧѧҳࢵ͡ҧҧҧ ҡ鹾ҡ 鹿§ٻẺҧ Ҫླ ¡зӾԸҪɡʶһҪǧ紵ѡɳ ǡѺҪǧѧ ҧᾧͧ ҧ͹ҧ͡ С÷ӹغاطʹ 繵 §¾ҡШ֧դԭ蹤繻֡ ٹҧͧҹҷ ѧҡ¾ҡǡͧͧ Ҫǧ紵 ͧ ºԸաûͧԹᴹͧҪҹ Сͺ § Ӿٹ ӻҧ йҹѡɳѴѧ 駹繼Ҩҡ÷ҹûͧͧ ֧ͧ¡һդԴѺҡ Ѱšҧا෾ çҹҨѹѺҾ 㹢ǡѹҡ觪ԧҹҡѺ׹ա Ѱšҧ֧ͧҹ 仡ҧ·ӡѺҹ ѺԸաûͧẺ١ҹͧ˹ ͹ѹͧ㹡ûͧ ɰԨ õҧ Тླ ʹ¡ͧõͧ͡ѹ ¹ŧٻѰŵͧ令ǺԨͧҪҹҡ鹵ӴѺ з㹷ش缹ǡҹ繴Թᴹǹ˹觢ͧ ԴѪŷ ؤ觡ûѺاȵẺѹ ҹûͧͧ ա¡ԡкûͧ ͧҪ »ԺѵԡѹҪҹҹ ¨Ѵ駡ûͧẺԺŢ᷹ բǧԺūѰšا෾任ͧТѧѴзǧҴ кԺŷѴ駢鹨֧繡ҧѹ˹ѹǡѹͧҵѰӹҨٹ ͧҡѵ ͧҪҹҡѺǹҧ Ѱšҧҧ¢ͧûٻûͧҧ͡Ҿ觪ҵ ͧҡѵٹӹҨ§ ôԹõͧз С ͻСá ¡ԡҹͧҪ ¨ѴûͧẺԺ 觢ǧһͧ ǡѹ¡ԡ˹ͧ Ѱšҧ Դ͹ӹҨͧͧҧ繤 㹷ش˹ͧµ任С÷ͧ ü׹ҹդ֡繾ͧǡѺ ͹ǹ˭ͧ Դѹ˹ѹǡѹͧ㹪ҵ դ֡¡繤оǡ ҧҪҹ ѰšҧԸըѴûٻ֡¨Ѵкç¹˹ѧ᷹¹ѡþͧѴ С˹źصáŸԴҵͧ֡¹ 觻ʺ §ҹҵҧ١׹դ֡繾ͧ ôԹ ա¹ŧ駴ҹûͧ ҡ äѧ ֡ Ҹóآ ¨ѴкǡѺا෾ 㹷ءҹ ҧûٻûͧ 㹪ǧ ͹ѴԺ (..-) çѺ¾ԹԪҹ ͧ§ͧ (.. -) 觹Ѻͧͧش·ӹҨͧҹͧ 繪ǧáͧôԹҹѰšҧչº¡ԡ˹ͧ㹷ѹ ѧç˹ҧõ 袳ǡѹŴӹҨмŻªй Ѱšҧ觢ǧҡا෾ ҨѴûͧͧ§ ѡɳзѹͧѺͧҹºصҹ ·ǧáӹҨŧ᷹ ǹŻªҧɰԨҡҡǹ˹觵ͧ觡ا෾ ͡ҡ 繢ͧͧҹºصҹ١͹繢ͧѰ .. 繪ǧ͹þ¢ͧԹԪҹ ѧҡ¾ԹԪҹ ѰšҧػҪͧ» з͡ѺѰšҧ ֧ա觵ػҪԹǧ ͧ§ ͧ (.. -) ͧ§Ժҧҡѧҡºͧѡ ੾еҳ .. 繵
§ ѧѴ§ ç§ ¹Ӵѧ Թ ҧҧ
෾ ླʧ ػҵǹ Ӥҹþԧ
ŷͧǨѧѴ§  
ѵԤٺԪ : ѡحҹ
ʶҹͧ§
෾ иҵش෾ : иҵػШӻԴ 
ǹѵ§ Ᾱ
§ : ҹ
иҵبͧ : иҵػШӻԴ  

ͺҧ Line
 Դ¹ (ԴӡǤѺ)
㹻-ҧ ٧ҹ ǹ
 ӹѡҹ.0-2969 3664, 0-2949 5134-36
ID LINE : @oceansmiletour
س .082-3656241
ID Line : lekocean2
س .093-6468915
ID Line : oceansmile
Ѵ
KHM-12 : Ѵ ø ѹ ҷҾ (FD)
2 ҹԹҧءѹ
ӵͫ
TAK-2 : ҧ - ͧ - ӵͫ - -
褳Թҧءѹ
LAO-1 : ҡ ҷѴ ӵ͹ Ҵ
4 ҹԹҧءѹ
ǧкҧ ˹ͧ LAO-4: ö俤٧ ǧкҧ ˹ͧ Ҫѧǧ ѧ§ §ѹ (4 ѹ)
6 ҹԹҧءѹ
ǧкҧ
LAO-2 : ö俤٧ ǧкҧ ͧ⢧ Ҫѧǧ ѧ§ §ѹ (4 ѹ)
4 ҹԹҧءѹ
 þط
Bali-541 : - þط Ѵຫҡ Թ ٺش кӺ Ѵѹ
4 ҹԹҧءѹ
ѧ SR-51 : ѧ Ѵ ᤹ Ӵ ԡ Ѵ
ѹ 31 ѹҤ - 4 Ҥ
๻ Nepal-431 : ๻ Ұҳ ͧѡл ͧҷѹ
4 ҹԹҧءѹ
ͪѹ
INDIA-503 : ͪѹ оԦ ѧҺѴ Ӫҧ ͧ (TG)
ѹ 3 - 8 չҤ 2566
Թ
INDIA-877 : Թ ๻ ط Ҫ Թ Թ ѵ Ӥ ҹ (Թçط WE)
ѹ 3 - 10 չҤ 2566
ᤪ INDIA-761 : ᤪ ͧͷҺ չҤ ⫹ (TG)
ѹ 13 - 19 Ҥ 2565
ѹ 30 ѹҤ - 5 Ҥ
ᤪ Ѫ INDIA-871: ᤪ Ѫ Ѥҿ չҤ ⫹ (TG)
ѹ 9 - 16 ¹ 2566
ѹ 12 - 19 ¹ 2566
ประวัติเชียงใหม่ : ข้อมูลประวัติศาสตร์เชียงใหม่ บริษัททัวร์ โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์







• สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่
• แระวัติศสตร์เชียงใหม่
ประวัติศาสตร์ดินแดนล้านนา : เมืองเชียงใหม่
ดินแดนล้านนา หมายถึง อาณาบริเวณที่ประกอบด้วยเมืองกลุ่มหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กันทางเครือญาติหรือทางวัฒนธรรม ในอดีต รัฐโบราณไม่มีอาณาเขตชัดเจน แต่ในสมัยที่อาณาจักรล้านนาเจริญรุ่งเรือง เคยมีอิทธิพลแผ่ออกไปอย่างกว้างขวาง ไปถึงดินแดนเชียงรุ่ง สิบสองพันนา และรัฐชานตอนใต้ สำหรับดินแดนที่สำคัญของล้านนาอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ประกอบด้วยเมืองใหญ่น้อย แบ่งตามสภาพภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ออกเป็นสองกลุ่มคือ กลุ่มเมืองล้านนาตะวันตก ซึ่งเป็นแกนสำคัญมี เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา เมืองด้านล้านนาตะวันตกนี้มีความสัมพันธ์ ร่วมกันมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์มังรายตอนต้น ส่วนกลุ่มล้านนาตะวันออก มีเมืองแพร่และเมืองน่าน ทั้งสองเมืองมีประวัติความเป็นมาคล้ายกันคือ ในสมัยแรกเริ่ม ต่างมีฐานะเป็นรัฐอิสระ มีราชวงศ์ของตนเอง มีความใกล้ชิดกับ อาณาจักรสุโขทัย และรัฐอาณาจักรล้านนา เพิ่งผนวกเอา ดินแดนแพร่และน่านได้ในสมัยพระเจ้าติโลกราชและอยู่ในอาณาจักรล้านนาได้ไม่นานนัก อาณาจักรล้านนาก็ล่มสลายลง ในสมัยพม่าปกครองก็ใช้วิธีแบ่งแยกเมืองต่าง ๆ ด้วยเหตุผลดังกล่าว การศึกษาประวัติศาสตร์ล้านนา จึงมีศูนย์กลางการ ศึกษาอยู่ที่เชียงใหม่ เมืองหลวงแห่งล้านนา ส่วนเมืองแพร่และน่านมีการกล่าวพาดพิงไปถึงบ้าง
การก่อสร้างอาณาจักรล้านนา เริ่มในต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ เมื่อสถาปนานครเชียงใหม่ พ.ศ.๑๘๓๙ นับถึงปัจจุบันเชียงใหม่มีอายุกว่า ๗๐๐ ปี แล้ว การศึกษาประวัติศาสตร์ล้านนาตามพัฒนาการแบ่งได้ดังนี้
สมัยแว่นแคว้น-นครรัฐ ก่อนกำเนิดอาณาจักรล้านนาในพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ดินแดนล้านนามีรัฐต่าง ๆ กระจายตามที่ราบระหว่างหุบเขาในภาคเหนือ เช่น แคว้นหริภุญไชยในเขตแม่น้ำปิงตอนบน แคว้นโยนหรือโยนกในเขตที่ราบลุ่มน้ำกก เขลางนครในเขตลุ่มน้ำวัง เมืองแพร่ในเขตลุ่มน้ำยม เมืองปัวในเขตลุ่มน้ำน่าน และเมืองพะเยาในเขตลุ่มน้ำอิง แว่นแคว้น-นครรัฐแต่ละแห่งมีลักษณะการตั้งถิ่นฐานกระจายตัวอยู่ตามที่ราบระหว่างหุบเขา โดยมีเทือกเขาปิดล้อม จากการตั้งถิ่นฐานมาช้านานของรัฐใหญ่น้อยต่าง ๆ ก่อนกำเนิดอาณาจักรล้านนา ทำให้แต่ละรัฐต่างมีประวัติศาสตร์เป็นของตนเอง แคว้นหริภุญไชย ในเขตชุมชน ที่ราบลุ่มน้ำปิงตอนบน เป็นดินแดนที่พัฒนาความเจริญได้ก่อนชุมชนอื่น ๆ ในล้านนา รวมทั้งเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรมมาตั้งแต่ต้นพุทธศตรรษที่ ๑๔ ความเจริญของหริภุญไชยเป็นพื้นฐานของอาณาจักรล้านนาที่จะก่อรูปเป็นรัฐอาณาจักร ก่อนกำเนิดรัฐหริภุญไช ในบริเวณแอ่งเชียงใหม่-ลำพูนมีพัฒนาการเป็นรัฐขนาดเล็กหรือรัฐชนเผ่าเกิดขึ้นแล้ว พบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชนเผ่าโบราณ ๒ กลุ่มคือลัวะ และ เม็ง
   ลัวะ ชาวพื้นเมืองในกลุ่มมอญเขมร ตั้งถิ่นฐานกระจายทั่วไปในภาคเหนือเลยไปถึงเมืองเชียงตุง เมืองยองและ หุบเขาต่าง ๆ ชนเผ่าลัวะมีหลายเผ่า และมีระดับความเจริญแตกต่างกันมาก พวกที่อยู่บริเวณใกล้ที่ราบลุ่มแม่น้ำ มีการคมนาคมสะดวกจะวิวัฒน์ได้เร็วกว่าพวกที่อยู่ในเขตป่าเขา ชนเผ่าลัวะในแอ่งเชียงใหม่-ลำพูน เป็นชนเก่าแก่ อยู่มาช้านานก่อนที่ชนกลุ่มอื่นจะเข้ามา ในตำนานล้านนากล่าวถึงบริเวณเชิงดอยสุเทพเป็นศูนย์กลางของชนเผ่าลัวะ ชนลัวะจะนับถือดอยสุเทพ เพราะเป็นที่สิงสถิตของผีปู่แสะย่าแสะผีบรรพบุรุษของชาวลัวะ ชาวลัวะนับถือผีปู่แสะย่าแสะ ผู้พิทักษ์ดอยสุเทพ และรักษาเมืองเชียงใหม่ จึงมีพิธีเลี้ยงผีปู่แสะย่าแสะเป็นประจำทุกปี ร่องรอยความเชื่อนี้ยังมีสืบมา ชนเผ่าลัวะในเขตที่ราบลุ่มน้ำปิงมีความเจริญในระดับก่อรูปเป็นรัฐเล็ก ๆ ลักษณะทางสังคมมีความแตกต่าง ระหว่างชนชั้น คือแบ่งคนออกเป็นสองกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้ปกครองและกลุ่มสามัญชนหรือไพร่ กลุ่มผู้ปกครองมีหัวหน้าเผ่า ที่สืบเชื้อสายกันต่อมาเรียกว่า ซะมัง
   เรื่องราวการแตกสลายของชนเผ่าลัวะเป็นผลมาจากการขยายความเจริญรุ่งเรืองจากเมืองละโว้มาสู่การสร้างเมืองหริภุญไชย พระนางจามเทวีเสด็จมาครองเมืองหริภุญไชยในบริเวณอิทธิพลของชนเผ่าลัวะ จึงเกิดความขัดแย้ง ระหว่างพระนางจามเทวีกับขุนหลวงวิลังคะ ผลจากการต่อสู้ ขุนหลวงวิลังคะพ่ายแพ้ รัฐชนเผ่า ลัวะเชิงดอยสุเทพ สลายลง สันนิษฐานกันว่า ชนเผ่าลัวะคงกระจัดกระจายไปตามป่าเขาและต่างที่ต่าง ๆ รัฐชนเผ่าลัวะ ยังคงมีในบริเวณชายขอบของแคว้นหริภุญไชย
   เม็ง ชาติพันธุ์มอญโบราณที่ตั้งถิ่นฐานในภาคเหนือมาช้านานแล้ว เป็นกลุ่มเดียวกับมอญในแถบลุ่มน้ำเจ้าพระยา ลักษณะการตั้งถิ่นฐานมักกระจายอยู่ตามที่ราบลุ่มน้ำปิง จึงพบคำเก่าแก่เรียกแม่น้ำปิงว่า แม่ระมิง หรือแม่น้ำเม็ง หมายถึงแม่น้ำที่มีชาวเม็งอาศัยอยู่ เม็งและลัวะเป็นชนเผ่าโบราณที่เคยอยู่ในที่ราบลุ่มน้ำปิงด้วยกัน เม็ง มีปริมาณประชากรน้อยกว่าลัวะ ลัวะและเม็งมีลักษณะต่างคนต่างอยู่ไม่ใกล้ชิดกัน แต่ก็ยอมรับความเป็นชนต่างชาติพันธุ์ เม็งค่อย ๆ หายไปจากดินแดนล้านนา คงเหลือร่องรอยหมู่บ้านเม็งเก่าแก่ไม่กี่แห่ง เพราะได้รับการผสมกลมกลืนให้เป็นคนไทยเช่นเดียวกับชนเผ่าลัวะและชนเผ่าอื่นๆ
ล้านนาสมัยรัฐอาณาจักร สมัยราชวงศ์มังราย พ.ศ.๑๘๐๔-๒๑๐๑ ในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ดินแดนล้านนาได้พัฒนาการการปกครอง จากแว่นแคว้น-นครรัฐมาสู่รัฐแบบอาณาจักร มีเชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง รัฐแบบอาณาจักรสถาปนาอำนาจโดยรวบรวมแว่นแคว้น-นครรัฐมาไว้ด้วยกัน ในพุทธศตวรรษที่ ๑๙ เนื่องจากเกิดปรากฏการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ คือการสลายตัวของรัฐโบราณที่เคยรุ่งเรืองมาก่อน ดังเช่น กัมพูชา ทวารวดี หริภุญไชย และพุกาม การเสื่อมสลายของรัฐโบราณเปิดโอกาสให้เกิดการสถาปนาอาณาจักรใหม่ ของชนชาติไทยที่ผู้นำใช้ภาษาและวัฒนธรรมไทย อาณาจักรใหม่ที่เกิดในพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ที่สำคัญคือ ล้านนา สุโขทัย และอยุธยา อาณาจักรทั้งสามมีความเชื่อในพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทนิกายลังกาวงศ์เช่นเดียวกัน ความเชื่อดังกล่าวสร้างความสัมพันธ์ต่อกัน ขณะเดียวกันก็ส่งเสริมการแข่งสร้างบุญบารมีของกษัตริย์ จึงนำไปสู่การทำสงครามระหว่างอาณาจักร รัฐสุโขทัยสลายลงก่อน โดยถูกผนวกกับอยุธยา หลังจากนั้น สงครามระหว่างอยุธยาและล้านนามีอย่างต่อเนื่อง สงครามครั้งสำคัญอยู่ใน สมัยของ พระเจ้าติโลกราช และพระบรมไตรโลกนาถ ประวัติศาสตร์ล้านนาในสมัยรัฐอาณาจักรแบ่งตามพัฒนาการ เป็น ๓ สมัย คือ สมัยสร้างอาณาจักร สมัยอาณาจักรเจริญรุ่งเรือง สมัยเสื่อมและการล่มสลายท สมัยสร้างอาณาจักร (พ.ศ. ๑๘๘๓๙-๑๘๙๘) การก่อตั้งอาณาจักรล้านนาเป็นผลจากการรวมแคว้นหริภุญไชยกับแคว้นโยน ในสมัยของพระยามังรายปฐมกษัติรย์ แล้วสถาปนาเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง การก่อตั้งเมืองเชียงใหม่หรือนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ ใน พ.ศ. ๑๘๓๙ มีเป้าหมายเพื่อให้เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสืบเนื่อง ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางอาณาจักรล้านนา ทั้งทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงให้ความสำคัญต่อเมืองเชียงใหม่เป็นพิเศษ นับตั้งแต่พยายามเลือกทำเลที่ตั้ง การวางผังเมือง และการสร้างสิทธิธรรม เชียงใหม่จึงเป็นศูนย์กลางความเจริญในภาคเหนือสืบมาถึงปัจจุบัน การสร้างเมืองเชียงใหม่ พระยามังรายเชิญพระยางำเมืองและพ่อขุนรามคำแหงมาร่วมกันพิจารณาทำเลที่ตั้ง พระยาทั้งสองก็เห็นด้วย และช่วยดูแลการสร้างเมืองเชียงใหม่ ด้วยเหตุที่พ่อขุนรามคำแหงมาร่วมสร้างเมืองเชียงใหม่ ทำให้ผังเมือง เชียงใหม่ได้รับอิทธิพลจากสุโขทัย เมื่อแรกสร้างกำแพงเมืองมีขนาดกว้าง ๙๐๐ วา ยาว ๑,๐๐๐ วา และขุดคูน้ำกว้าง ๙ วา กำแพงเมืองเชียงใหม่ปรับเปลี่ยนไปตามกาลสมัย ปัจจุบันเป็นรูปสี่เหลี่ยมยาวด้านละ ๑,๖๐๐ เมตร ท สมัยอาณาจักรล้านนาเจริญรุ่งเรือง (พ.ศ. ๑๘๙๘-๒๐๖๘) ในราวกลางราชวงศ์มังราย นับแต่สมัยพระยากือนา เป็นต้นมา อาณาจักรล้านนาเจริญขึ้นอย่างเห็นได้ชัด และเจริญสูงสุดในสมัยพระเจ้าติโลกราชและพระยาแก้วหรือพระเมืองแก้ว ซึ่งถือเป็นยุคทอง หลังจากนั้นอาณาจักรล้านนาก็เริ่มเสื่อมลง โดยกล่าวได้ถึงความเจริญเป็นประเด็นได้คือความเจริญทางพุทธศาสนา ในยุครุ่งเรือง ตามหมู่บ้านต่าง ๆ ได้สร้างวัดเป็นศูนย์กลางชุมชน เขตเมืองเชียงใหม่มีวัดนับร้อยแห่ง ปริมาณวัดที่มากมายในยุครุ่งเรืองนั้นมีร่องรอยปรากฏเป็นวัดร้างมากมายในปัจจุบัน ความเจริญในพุทธศาสนา ยังได้สร้างถาวรวัตถุในพุทธศาสนาซึ่งมีคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมล้านนา วัดสำคัญได้แก่ วัดเจ็ดยอด วัดเจดีย์หลวง วัดพระสิงห์ วัดสวนดอก วัดบุพพาราม เป็นต้น การสร้างวัดมากมายนอกจากแสดงความเจริญในพระพุทธศาสนาแล้ว ยังสะท้อนความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจของล้านนาในยุครุ่งเรืองด้วยความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ร่วมไปกับความเจริญรุ่งเรืองโดยรวมของรัฐ เพราะพบว่านับตั้งแต่สมัยพระญากือนาเป็นต้นมา การค้าระหว่างรัฐมีเครือข่ายกว้างขวาง มีพ่อค้าจากเมืองเชียงใหม่ ไปค้าขายถึงเมืองพุกาม ในยุคนั้นเมืองเชียงใหม่มีฐานะเป็นศูนย์กลางการค้าสำคัญ เพราะเป็นเมืองผ่าน ไปยังทางใต้และทางตะวันตก จึงมีพ่อค้าจากทุกทิศมาค้าขายที่เชียงใหม่ ทั้งเงี้ยว ม่าน เม็ง ไทย ฮ่อ กุลา สินค้าออกเชียงใหม่สู่ตลาดนานาชาติคือของป่า เมืองเชียงใหม่ทำหน้ารวบรวมสินค้าของป่าจากเมืองต่าง ๆ ทางตอนบน แล้วส่งไปขายยังเมืองท่าทางตอนล่างในดินแดนกรุงศรีอยุธยาและหัวเมืองมอญ กษัตริย์มีบทบาทการค้าของป่า โดยอาศัยการเก็บส่วยจากไพร่และให้เจ้าเมืองต่าง ๆ ในอาณาจักรส่งส่วยให้ราชธานี จึงออกกฎหมาย บังคับให้ทุกคนในอาณาจักรนำส่วยสินค้าของป่ามาถวาย รูปแบบการค้าของป่า กษัตริย์จะส่งข้าหลวงกำกับดูแล สินค้าชนิดต่าง ๆ มีการพบตำแหน่ง "แสนน้ำผึ้ง" ซึ่งเป็นข้าหลวงที่ดูแลการค้าส่วยน้ำผึ้ง และมีพ่อค้าจากอยุธยาเดินทางเข้าซื้อสินค้าในเมืองฮอด กำลังทหารที่เข้มแข็ง ในยุคที่อาณาจักรล้านนาเจริญรุ่งเรือง รัฐมีความเจริญทางการค้ามากและสภาพเศรษฐกิจดี จึงมีกองกำลังที่เข้มแข็ง ดังพบว่า ในยุคนี้อาณาจักรล้านนามีอำนาจสูงได้แผ่อิทธิพลออกไปอย่าง กว้างขวาง เช่น เมืองเชียงตุง เมืองเชียงรุ่ง เมืองยอง เมืองนาย เมืองน่าน และยังขยายอำนาจลงสู่ชายขอบ รัฐอยุธยา โดยทำสงครามติดต่อกันหลายปีระหว่างพระเจ้าติโลกราชและพระบรมไตรโลกนาถ ซึ่งในครั้งนั้น ล้านนาสามารถยึดครองเมืองศรีสัชนาลัยได้ ท สมัยเสื่อมและอาณาจักรล้านนาล่มสลาย (พ.ศ.๒๐๖๘-๒๑๐๑) เกิดขึ้นในช่วงปลายสมัยราชวงศ์มังราย นับตั้งแต่พระญาเกศเชษฐราชขึ้นครองราชย์ จนกระทั่งตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าใน ช่วงเวลา ๓๓ ปี ในช่วงเวลานั้นมีระยะหนึ่งที่ว่างเว้นไม่มีกษัตริย์ปกครองถึง ๔ ปี เพราะขุนนางขัดแย้งกันเอง ตกลงไม่ได้ว่าจะให้ใครเป็นกษัตริย์ การสิ้นรัชสมัยของกษัตริย์เกิดจากขุนนางจัดการปลงพระชนม์ หรือขุนนางปลดกษัตริย์ หรือกษัตริย์สละราชสมบัติ นอกจากนี้ ปัจจัยความเสื่อมสลาย ยังเกิดจากปัญหาเชิงโครงสร้างของรัฐในหุบเขา ที่ทำให้เมืองต่าง ๆ ในอาณาจักรมีโอกาสแยกตัวเป็นอิสระ ในระยะแรก เมืองราชธานีจึงพยายามสร้างเสถียรภาพให้ศูนย์กลางมีความเข้มแข็งตลอดมา โดยกษัตริย์อาศัยการสร้างสายสัมพันธ์กับเจ้าเมืองต่าง ๆ ในระบบเครือญาติ อย่างไรก็ตาม เมื่อรัฐขยายขึ้น จำเป็นต้องสร้างระบบราชการที่มีประสิทธิภาพแทนที่ระบบเครือญาติ แต่อาณาจักรล้านนาสถาปนาระบบราชการไม่ได้ รัฐจึงอ่อนแอและเสื่อมสลายลง
ล้านนาสมัยพม่าปกครอง (พ.ศ.๒๑๐๑-๒๓๑๗) นับเป็นยุคแห่งความอ่อนแอของล้านนา ในช่วงเวลาดังกล่าวส่วนใหญ่พม่าปกครอง แต่จะมีบางช่วง ที่อยุธยายกทัพ ขึ้นมายึดเชียงใหม่ได้ เช่น สมัยพระนเรศวรและสมัยพระนารายณ์ นอกจากนั้นมีบางช่วงที่เชียงใหม่ และเมืองต่าง ๆ แยกเป็นรัฐอิสระ เช่น ช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๔ เนื่องจากเป็นช่วงที่พม่า ประสบปัญหา การเมืองภายใน เมื่อพม่าแก้ไขปัญหาเรียบร้อยแล้วจะยกทัพมาปราบล้านนา ดังนั้นอำนาจพม่าในล้านนาจึงไม่สม่ำเสมอ ล้านนาตกเป็นเมืองขึ้นพม่าตั้งแต่สมัยพระเจ้าบุเรงนอง(พ.ศ.๒๑๐๑) จนถึง พ.ศ.๒๓๑๗ สมัยพระเจ้าตากสิน ล้านนาจึงตกเป็นเมืองประเทศราชสยาม ล้านนาในสมัยพม่าปกครองเป็นช่วงเวลาที่ยาวนานถึง ๒๑๖ ปี นโยบายของพม่าที่ปกครองล้านนาได้ปรับเปลี่ยนไปตามเงื่อนไขการเมืองภายในของพม่าและ ปรับตามสภาพการเมืองในท้องถิ่นล้านนา
ล้านนาสมัยเป็นเมืองประเทศราชของไทย (พ.ศ. ๒๓๑๗-๒๔๒๗) หลังจากเสร็จสงครามขับไล่พม่าออกจากเชียงใหม่ พ.ศ.๒๓๑๗ แล้ว พระเจ้าตากสิน ทรงตอบแทนความดีความชอบ โดยโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง พระญาจ่าบ้าน(บุญมา) เป็นพระยาวิเชียรปราการครองเมืองเชียงใหม่ พระเจ้ากาวิละครองเมืองลำปาง และทรงมอบอาญาสิทธิ์แก่เจ้าเมืองทั้งสองให้ปกครองบ้านเมืองตามธรรมเนียมเดิมของล้านนา อย่างไรก็ตาม ในช่วงปลายสมัยธนบุรี พม่ายังคงพยายามกลับมายึดเชียงใหม่อีกหลายครั้ง ซึ่งพระญาจ่าบ้าน ป้องกันเมืองเชียงใหม่อย่างเข้มแข็ง แต่ด้วยผู้คนมีอยู่น้อยและกำลังอดอยาก จึงต้องถอยไปตั้งมั่นที่ท่าวังพร้าวและลำปาง จากนั้นจึงกลับไปที่เชียงใหม่เมื่อพม่ายกทัพกลับ การณ์เป็นไปในเช่นนี้ระยะเวลาหนึ่ง เมื่อพระญาจ่าบ้านเสียชีวิตลง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพระเจ้ากาวิละเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่แทน พระเจ้ากาวิละเริ่มตั้งมั่นที่เวียงป่าซางในพ.ศ. ๒๓๒๕ ก่อน จากนั้นจึงเข้าตั้งเมืองเชียงใหม่ในปี พ.ศ. ๒๓๓๙ ซึ่งเป็นปีที่เชียงใหม่มีอายุครบ 500 ปี อิทธิพลของพม่าในล้านนาถือว่าได้สิ้นสุดลงในสงครามขับไล่พม่า พงศ. ๒๓๔๗ โดยกองทัพชาวล้านนาร่วมกับกองทัพไทยยกไปตีเมืองเชียงแสนที่มั่นของพม่าได้สำเร็จ พระเจ้ากาวิละจึงได้ฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่โดยรวบรวมพลเมืองเข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองเชียงใหม่ โดยใช้วิธีการกวาดต้อนชาวเมืองที่หลบหนีเข้าป่า และกวาดต้อนผู้คนจากสิบสองพันนาและรัฐชานมาเชียงใหม่ เชียงใหม่จึงพ้นจากสภาพเมืองร้างและยังได้ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวาง จากนั้นพระเจ้ากาวิละ ได้ฟื้นฟูเชียงใหม่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ราชประเพณี โดยกระทำพิธีราชาภิเษกสถาปนาราชวงศ์เจ้าเจ็ดตนในลักษณะ เดียวกับราชวงศ์มังราย การสร้างกำแพงเมืองขึ้นใหม่ การสร้างอนุสาวรีย์ช้างเผือก และการทำนุบำรุงพุทธศาสนา เป็นต้น เชียงใหม่ในสมัยพระเจ้ากาวิละจึงมีความเจริญมั่นคงเป็นปึกแผ่น และเป็นศูนย์กลางของล้านนาที่เข้มแข็ง หลังจากสมัยพระเจ้ากาวิละแล้วก็มีเจ้าเมืองปกครองต่อมา รวมทั้งสิ้นราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน มี ๙ องค์ นโยบายและวิธีการปกครองดินแดนหัวเมืองประเทศราชล้านนา ประกอบด้วย เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ และน่านมีลักษณะระมัดระวัง ทั้งนี้เป็นผลมาจากการที่ล้านนาเคยอยู่ภายใต้การปกครองของพม่า ถึงสองร้อยกว่าปีย่อมมีความใกล้ชิดกับพม่ามาก รัฐบาลกลางที่กรุงเทพฯ เกรงว่าล้านนาจะหันกลับไปหาพม่า และในขณะเดียวกันพม่าก็พยายามแย่งชิงล้านนากลับคืนไปอีก รัฐบาลกลางจึงปกครองล้านนา โดยไม่เข้าไปกดขี่อย่างที่พม่าเคยทำกับล้านนา แต่กลับใช้วิธีการปกครองแบบผูกใจเจ้านายเมืองเหนือ โดยยอมผ่อนผันให้เจ้าเมืองมีอิสระในการปกครองภายใน เศรษฐกิจ การศาล การต่างประเทศ และขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนยกย่องให้เกียรติแก่เจ้าเมืองในโอกาสอันควร การเปลี่ยนแปลงในรูปที่รัฐบาลต้องเข้าไปควบคุมกิจการภายในหัวเมืองประเทศราชล้านนามากขึ้นตามลำดับ จนกระทั่งในที่สุดก็ผนวกเอาล้านนาเข้าเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของไทย เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ ซึ่งเป็นยุคแห่งการปรับปรุงประเทศตามแบบตะวันตก ด้านการปกครองหัวเมือง มีการยกเลิกระบบการปกครอง เมืองประเทศราช ซึ่งเคยปฏิบัติกันมาช้านาน โดยจัดตั้งการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลขึ้นแทน มีข้าหลวงเทศาภิบาลซึ่งรัฐบาลกรุงเทพฯส่งไปปกครองและขึ้นสังกัดกระทรวงมหาดไทย ระบบมณฑลเทศาภิบาลที่จัดตั้งขึ้นจึงเป็นการสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของชาติรัฐซึ่งมีอำนาจรวมศูนย์ ที่องค์พระมหากษัตริย์ การรวมหัวเมืองประเทศราชล้านนาเข้ากับส่วนกลาง รัฐบาลกลางวางเป้าหมายของการปฏิรูปการปกครองเพื่อสร้างเอกภาพแห่งชาติ ซึ่งมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมอำนาจเพียงแห่งเดียว การดำเนินการต้องกระทำ ๒ ประการ คือประการแรก ยกเลิกฐานะหัวเมืองประเทศราชที่เป็นมาแต่เดิม โดยจัดการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล ส่งข้าหลวงมาปกครอง ขณะเดียวกันก็พยายามยกเลิกตำแหน่งเจ้าเมืองเสีย โดยรัฐบาลกลาง ริดรอนอำนาจของเจ้าเมืองอย่างค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งในที่สุดตำแหน่งเจ้าเมืองก็สลายตัวไปประการที่สอง การผสมกลมกลืนชาวล้านนาให้มีความรู้สึกเป็นพลเมืองไทยเช่นเดียวกับ พลเรือนส่วนใหญ่ของประเทศ คือให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของชนในชาติ ซึ่งแต่เดิมมีความรู้สึกแบ่งแยกเป็นคนละพวก คนทางใต้เข้าใจว่าชาวล้านนาเป็นลาว ไม่ใช่ไทย รัฐบาลกลางใช้วิธีจัดการปฏิรูปการศึกษาโดยจัดระบบโรงเรียนหนังสือไทยแทนการเรียนอักษรพื้นเมืองในวัด และกำหนดให้กุลบุตรกุลธิดาต้องศึกษาเล่าเรียนภาษาไทย ซึ่งประสบผลสำเร็จ ชาวเชียงใหม่และล้านนาต่างถูกผสมกลมกลืนจนมีความรู้สึกเป็นพลเมืองไทย การดำเนินการ มีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านการปกครอง การศาล การภาษีอากร การคลัง การศึกษา การสาธารณสุขและอื่น ๆ โดยจัดเป็นระบบเดียวกับกรุงเทพฯ ในทุกด้าน ระหว่างการปฏิรูปการปกครอง ในช่วง ก่อนจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาล (พ.ศ.๒๔๒๗-๒๔๔๒) ตรงกับสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าเมืองเชียงใหม่องค์ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๑๖-๒๔๓๙) ซึ่งนับว่าเป็นเจ้าเมืององค์สุดท้ายที่มีอำนาจปกครองบ้านเมือง เพราะเป็นช่วงแรกของการดำเนินงานรัฐบาลกลางมีนโยบายไม่ยกเลิกตำแหน่งเจ้าเมืองในทันที ยังคงใช้ดำรงตำแหน่งอย่างมีเกียรติ แต่ขณะเดียวกันก็พยายามลดอำนาจและผลประโยชน์ทีละน้อย รัฐบาลกลางได้ส่งข้าหลวงจากกรุงเทพฯ ขึ้นมาจัดการปกครองในเมืองเชียงใหม่ ในลักษณะที่ร่วมกันปกครองกับเจ้าเมืองและเจ้านายบุตรหลาน โดยที่ข้าหลวงพยายามแทรกอำนาจลงไปแทนที่ ส่วนผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจซึ่งได้แก่รายได้จากการเก็บภาษีอากรส่วนหนึ่งต้องส่งกรุงเทพฯ นอกจากนั้น ป่าไม้ซึ่งแต่เดิมเป็นของเจ้าเมืองและเจ้านายบุตรหลานได้ถูกโอนเป็นของรัฐใน พ.ศ. ๒๔๓๙ ซึ่งเป็นช่วงก่อนการพิราลัยของพระเจ้าอินทวิชยานนท์ และหลังจากสิ้นสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์แล้ว รัฐบาลกลางให้เจ้าอุปราชรั้งเมืองอยู่หลายปี จนกระทั่งเห็นว่าให้ความร่วมมือกับรัฐบาลกลางดี จึงมีการแต่งตั้งให้เจ้าอุปราชเป็นเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ เจ้าเมืองเชียงใหม่ องค์ที่ ๘ (พ.ศ. ๒๔๔๔-๒๔๕๒) เมืองเชียงใหม่เติบโตอย่างมากหลังจากนโยบายเมืองหลัก โดยเฉพาะตั้งแต่ประมาณ พ.ศ.๒๕๓๐ เป็นต้นมา
เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โรงแรมเชียงใหม่ ห้วยน้ำดัง ดอยอินทนนท์ ดอยอ่างขาง
ดอยสุเทพเป็นศรี ประเพณีเป็นสง่า บุปผชาติล้วนงามตา งามล่ำค่านครพิงค์
• ข้อมูลท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่  
ประวัติครูบาศรีวิชัย : นักบุญแห่งล้านนา
• สถานที่ท่องเที่ยวเชียงใหม่
ดอยสุเทพ พระธาตุดอยสุเทพ : พระธาตุประจำปีเกิดปีมะแม 
• สวนสัตว์เชียงใหม่ หมีแพนด้า
tadalafil 10mg vs 20mg : มหานครใต้พิภพ
พระธาตุจอมทอง : พระธาตุประจำปีเกิด  
ทัวร์โปรโมชั่น

สอบถามทัวร์ทาง Line
• ติดต่อโอเชี่ยนสไมล์ทัวร์ (เปิดทำการแล้วครับ)
• กรุ๊ปเหมาในประเทศ-ต่างประเทศ สัมนา ดูงาน เที่ยวส่วนตัว
• สำนักงานโทร.0-2969 3664, 0-2949 5134-39
ID LINE : @oceansmiletour
• คุณเล็ก โทร.082-3656241
• ID Line : lekocean2
• คุณโจ้ โทร.093-6468915
• ID Line : oceansmile
• โปรแกรมทัวร์
ทัวร์น้ำตกทีลอซู
• TAK-2 : อุ้มผาง - ล่องแก่ง - น้ำตกทีลอซู - ดอยหัวหมด - ริมเมย
• กรุ๊ปหมู่คณะเดินทางได้ทุกวัน
ทัวร์ลาวใต้ • LAO-1 : ลาวใต้ ปากเซ ปราสาทวัดพู น้ำตกคอนพะเพ็ง แก่งหลี่ผี ตาดผาส้วม
• กรุ๊ป 4 ท่านเดินทางได้ทุกวัน
หลวงพระบาง หนองเขียว • LAO-4: นั่งรถไฟความเร็วสูง หลวงพระบาง หนองเขียว พระราชวังหลวง วังเวียง เวียงจันทน์ (4 วัน)
• กรุ๊ป 6 ท่านเดินทางได้ทุกวัน
ทัวร์พม่า
• MM-12 : cheap cialis 60mg
• กรุ๊ป 2 ท่านเดินทางได้ทุกวัน
ทัวร์ศรีลังกา • SR-51 : ศรีลังกา วัดพระเขี้ยวแก้ว แคนดี้ ถ้ำดัมบูลล่า สิกิริยา กอลล์ โคลัมโบ วัดคงคาราม
• วันที่ 13 - 17 กรกฎาคม 2565
• วันที่ 12 - 16 สิงหาคม 2565
ทัวร์บาหลี บุโรพุทโธ • Bali-541 : ทัวร์บาหลี - บุโรพุทโธ วัดเบซากีห์ คินตามณี อูบุด ระบำบาหลี วัดพรามนันท์
• กรุ๊ป 4 ท่านเดินทางได้ทุกวัน
ทัวร์ถ้ำอชันต้า
• INDIA-503 : ถ้ำอชันตา ถ้ำเอลโลร่า ไหว้พระพิฆเนศ ออรังกาบัด ถ้ำช้าง เมืองมุมไบ (TG)
• วันที่ 13 - 17 กรกฏาคม 2565
• วันที่ 13 - 17 ตุลาคม 2565
ทัวร์อินเดีย
• INDIA-877 : อินเดีย เนปาล พุทธคยา ราชคฤห์ กุสินารา ลุมพินี สาวัตถี แม่น้ำคงคา พารานสี (บินตรงพุทธคยา WE)
• วันที่ 30 ตุลาคม - 6 พฤศจิกายน
• วันที่ 4 - 11 ธันวาคม 2565
ทัวร์แคชเมียร์ • INDIA-761 : แคชเมียร์ ล่องเรือทะเลสาบดาล พาฮาลแกม ศรีนาคา กุลมาร์ค โซนามาร์ค (TG)
• วันที่ 13 - 19 ตุลาคม 2565
• วันที่ 30 ธันวาคม - 5 มกราคม
ทัวร์เลห์ลาดัก • ID-14 : ทัวร์เลห์ ลาดัก ถนนที่สูงที่สุดในโลก วัดเฮมิส วัดธิคเซย์ พระราชวังเลห์ นูบราวัลเลย์ (TG)
• วันที่ 10 - 16 สิงหาคม 2565
ทัวร์นรวัด
• KHM-2 : นครวัด นครธม เบ็งเมเลีย บันทายสรี ปราสาทตาพรหม ล่องโตนเลสาบ
• วันที่ 12 - 14 สิงหาคม 2565
• วันที่ 13 - 15 ตุลาคม 2565
นครวัด
• KHM-12 : cialis once daily dosage (FD)
• กรุ๊ป 2 ท่านเดินทางได้ทุกวัน
บริษัท โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์ จำกัด โทร. 0-2969 3664, 0-2949 5134-39 แฟ็กซ์ 0-2944 0825
เลขที่ 23/121 ซอยนวมินทร์ 161 ถ.นวมินทร์ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10230 (ใบอนุญาตเลขที่ 11/5028)
เจาะลึก...ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมและธรรมชาติ กับโอเชี่ยนสไมล์ทัวร์