|
ʶҹͧǨѧѴ§ |
ࢵѡҾѹѵ § |
ѵԤ
dz鹷ࢵѡҾѹѵ
ѧѴ§еҡ 繺dzԹ˹ࢵѡҾѹѵ
ѧѴҡ§ ͷҳ 1,500,000 ¡˹㹾Ҫɮա
.. 2521 ŧҪԨҹມ 95 80 ŧѹ
10 ԧҤ 2521 ҷҧҪ 鹷ࢵѡҾѹѵ
繾鹷ҷҧ˭ ͡٧ѺѺ дǡ㹡äǺѡһ
ѵ СͺѺѧҴ͵Ӻ кҴ ѧѴҡ
ҨҪɮաҴѧռźѧѺ¨֧繵ͧ
á˹鹷ࢵѡҾѹѵ 2 ǹ
˹͡˹ࢵѡҾѹѵ
зҧ˹ࢵѡҾѹѵ ֧Թâ͵ҾҪɮա¡ԡࢵѡҾѹѵ
..2521 еҾҪɮաҡ˹ࢵѡҾѹѵ
ࢵѡҾѹѵ .. 2526 ŧҪԨҹມ
100 135 ŧѹ 19 ԧҤ 2526
ҳࢵ
ࢵѡҾѹѵ
ҧҤ˹ͧ͢ 㹷ͧӺҧ§
Ӻͧ Ӻ״ ʹ ѧѴ§
еӺźҹ ѧѴҡ ҧ駻ҳ
17 ͧ 17 Ի - 17 ͧ 53 Ի˹ ǧҳ
98 ͧ 25 Ի - 98 ͧ 45 Իҵѹ͡ ͷҳ
1,224 .2 765,000 ҳࢵԴʹѧ
˹ ôδ й
ôࢵѡҾѹѵ
ѧѴҡ
ȵѹ͡ ôӻԧࢵطҹ觪ҵԧ
(Ҵ-) ѧѴ§ ѧѴӾٹ ШѧѴҡ
ȵѹ ôҧáǧ ҧǧѧѴŢ
1099
ѡɳԻ
ࢵѡҾѹѵ
ҾԻ· 4 ǹ
ǹá ǹ繾鹷ҷդҴ٧ѹդҴ§ҡ
30 % 繾鹷辺仡ҧҧҡش㹾鹷ࢵ
ǹͧ 鹷ҾԹդҴ§ҧ
8-16 % 鹷ѡɳ蹹оdzҴ dzҧǹͧҧáǧ
ʹ 繾鹷ҡѡ
ǹ 鹷ҹоѧӹ
դҴ§ǹ˭ҧ 2-8 % 鹷ѧǨоǹ繺dzҧǹԴѺӹ
ǹ 鹷dzҺ
ѡɳ蹹ǹҡշdzҹҧ§
кҧǹ Ѻ
ҡҾ鹷仴ѧǾػ
ҾԻȢͧࢵѡҾѹ ѵ¾鹷ǹ˭͡٧ѹѺѺվ鹷ԹзҺ
ҧǹ 鹷դ٧ҡдѺӷҧ 300-1,929
ʹ٧ҡдѺӷŵ 900 â ʹǨҡ˹ͨ
Թ ǧ дͧ
·٧ش ͧͧ ٧ҳ 1,929 èҡдѺӷ
觹ѧǨѵʧǹ٭ѹ ҧ
㹡Ǩҧ㹤駹 ͧ٭˹ҷ˹觷ҹ
سӹ֧ ʧ áȾҨҡ˹Ҽ觴ͧͧҶ֧
65 ѹ ¤ͨҡ˹ҷǨǹᴹ觤
˹ºԹǨ ѧѴ§ м᷹ҡ
ѡɳҡ
ҾҡȢͧࢵѡҾѹѵǹ˭ҡȤҧͺʹ˹ǨѴ㹪ǧҧȨԡ¹-Ҿѹ
(¡鹾鹷ҧǹҧҹȵѹ͡㹷ͧӺ״
ʹ ѧѴ§ еӺźҹ
ѧѴҡ dzӻԧ ;鹷ҧǹ٧ҡдѺӷҡѡ
ҡȨͺ蹶֧㹪ǧҧչҤ-Ҥ ҡȨФҧ˹
㹪ǧҧȨԡ¹-Ҿѹ)
Ѻҳӽ·仨е˹ѡ㹪ǧҧҤ-Ҥ
ҳӽ·赡ͺ ջҳҧ٧ͻҳ
1,926.3
Դоó
鹷ࢵѡҾѹѵ
繾鹷ҷСͺ» 5 Դ
1. ອó
2. ʹͻʹ
3. ҴԺͻҴԺ
4. ҴԺ
5. ͻᴧͻ⤡
鹷ҺdzҴ
¤ Ӻ״ ʹ ѧѴ§ դ٧ҡдѺӷŻҳ
300 Դ繻ອó óǨ ѡ
ǡ ǻ ᴧ д Т ԧѹ á С͡
ͻ Ф
鹷Һdzҧáǧ
dzӻ Ӻҧ§ ѧѴ§դ٧ҡдѺӷŻҳ
1,000 Դ繻ʹ ʹ ҴԺ ͻҴԺ
óǨ ҧǧ ʹͧ ´
ǧ ѡ չ ´
鹷Һdzµҡ Ӻͧ
ѧѴ§ ٧ҡдѺӷŻҳ
700-800 Դ繻ອó ͻᴧ
⤡ ó辺 ѡ ¾ġ д ͻ Ҵ
ⴹ ᤷ á ǻ ʹ ʹͧ
繵
鹷dzӵµҡ
Ӻͧ ѧѴ§ дѺ٧ҡӷŻҳ
900-1,000 Դ繻ҴԺ ó辺 о͵Ѻ٪ҧ
ҧ ¹˹ » ҧ ¹
еҴ ҹСǢ дѧᴧ ô ʧ
Ф 繵
鹷dzҧ§ кdzʹ
Ӻͧ ѧѴ§ ٧ҡдѺӷŻҳ
1,200-1,300 Դ繻ҴԺͻҴԺ ó辺
ʹͧ ջ ѡ˭ 紴 ʹҧ ´
˭ҧ ҹ͡ ҹ ʹ
͵ ѡҴ⤡ Т ǧ ҧ ѧ紪Ǽ
˴ §ѹ ҹ Ф 繵
ѵ
ѵҷ辺ҡࢵѡҾѹѵ
2 Ӿǡ ժء价駾鹷
1. Ӿǡ ҡҷǨն֧ 158
Դ Ӥѭ Шǧշͧ ШԺҷͧͧ
зҴʴ ҧԴҧ ԧԴҧ عἹᴧ
ԹŧԴҧ Ѵá ШҺԴҧ
Թ ا ͡˭ §
дҧͧ Ƿŷ Թմ ѧ
ա ҧ蹼դ § ѧ
繵
2. Ӿǡ§١¹ ժءҡ·
ҧǨ١ʹ ҧ١˹ ٪Դҧ 辺
ҧ ҧ ѵʧǹҡ٭ѹ
ҧ dzͧ Ӻͧ
ѧѴ§
ش蹷ʹ
鹷ࢵѡҾѹѵ
觷ʹҡ դҧǪԴҧ ӹǹҡ
ͧͧ չӵ§
ӵҴ ӵѡ ӵԹ ӵǧ ӵºҧ
йӵµҡ 繵 觷¢ͧҧ dzͧ
Թ٧ѹ դǢͧ͡Ҷ֧ 6 . չӤѭ
ªԴ 繺dzѵ˹蹪ءҡ
ҧ 繵 ѧշҺҴ˭ʹࢵ
ҹȵѹ
Թҧ
ࢵѡҾѹѵ
鹷ҧҤҡͧ§ ѧѴ§Ҷ֧
2 鹷ҧ
ҡͧ§ö¹ҧǧ蹴ԹŢ
108 (§-ͧ) ҹҧ ѹҵͧ
ͨͧ ֧ʹ зҧҳ 88 ¡ʹ
ҧǧѧѴŢ 1103 ֧ ӻԧ Ӻŷ
ʹ (ٹ) зҧҳ 40 . ҡŧͧŧӻԧ
֧˹¾ԷѡҴ ࢵѡҾѹѵ зҧҳ
10 . ҡͧ§ ֧˹¾ԷѡҴзҧҳ
138 . (˹¾ԷѡҴࢵѡҾѹѵ
˹ ҧҹȵѹ͡ԴѺӻԧ)
ҡͧ§ ·ҧö¹鹷ҧ
1.1 ֧ʹ ᷹¡ʹҵҧǧѧѴŢ
1103 Թҧ͵鹷ҧ (ҧǧ蹴ԹŢ 108)
ҡʹա 39 . ¡ҵҧǧ ѧѴŢ
1099 ֧ҹҧ Ӻҧ§ çѡ÷
32 ¡鹷ҧѧࢵѡҾѹѵ ֧ӡࢵѡҾѹѵ
зҧҳ 12 ҡͧ§ ֧ӡࢵѡҾѹѵ
зҧҳ 171 . (ӡࢵѡҾѹѵ
ࢵѡҾѹѵ µ˹ ҧҹȵѹ)
ҧǧ蹴ԹŢ 108 зҧǧѧѴŢ
1103 繷ҧ Ҵҧ ǹ鹷ҧ繷ҧԹ١ѧ ҧǧĴٽشҡ
|
|
§ ѧѴ§ ç§ ¹Ӵѧ Թ ҧҧ

ͺҧ Line |
Դ¹ (ԴӡǤѺ)
㹻-ҧ ٧ҹ ǹ
ӹѡҹ.0-2969 3664, 0-2949 5134-36
ID LINE : @oceansmiletour
س .082-3656241
ID Line : lekocean2
س .093-6468915
ID Line : oceansmile |
|
|
|
อมก๋อย : เชียงใหม่
บริษัททัวร์ โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์
 |
|
|
•
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ |
•
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย เชียงใหม่ |
ประวัติความเป็นมา
บริเวณพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย
จังหวัดเชียงใหม่และตาก เดิมเป็นบริเวณที่ดินที่ได้กำหนดให้เป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่ตื่น
จังหวัดตากและเชียงใหม่ มีเนื้อที่ประมาณ 1,500,000 ไร่ โดยกำหนดในพระราชกฤษฎีกาเมื่อ
พ.ศ. 2521 ลงในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 95 ตอน 80 ลงวันที่
10 สิงหาคม 2521 ต่อมาทางราชการเห็นว่า พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่ตื่น
เป็นพื้นที่ป่าที่กว้างใหญ่ มีเทือกเขาสูงสลับซับซ้อน ไม่สะดวกในการควบคุมดูแลรักษาป่าและ
สัตว์ป่า ประกอบกับยังขาดชื่อตำบลสามหมื่น อำเภอแม่ระบาด จังหวัดตาก
ซึ่งอาจทำให้พระราชกฤษฎีกาดังกล่าวไม่มีผลบังคับตามกฎหมายจึงจำเป็นต้องแก้ไข
สมควรกำหนดพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่ตื่นเป็น 2 ส่วน
ได้แก่ ตอนเหนือกำหนดให้เป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย
และทางใต้กำหนดให้เป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่ตื่น จึงได้ดำเนินการขอตราพระราชกฤษฎีกายกเลิกเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่ตื่น
พ.ศ.2521 และตราพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่ตื่น ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2526 และลงในราชกิจจานุเบกษา
เล่มที่ 100 ตอน 135 ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2526
ที่ตั้งและอาณาเขต
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย
ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย อยู่ในท้องที่ตำบลยางเปียง
ตำบลม่อนจอง อำเภออมก๋อย ตำบลมืดกา อำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่
และตำบลบ้านนา อำเภอสามเงา จังหวัดตาก อยู่ระหว่างเส้นรุ้งประมาณ
17 องศา 17 ลิปดา - 17 องศา 53 ลิปดาเหนือ และเส้นแวงประมาณ
98 องศา 25 ลิปดา - 98 องศา 45 ลิปดาตะวันออก มีเนื้อที่ประมาณ
1,224 กม.2 หรือ 765,000 ไร่ และมีอาณาเขตติดต่อดังนี้
ทิศเหนือ จรดห้วยแม่แฮด และน้ำแม่ลาย
ทิศใต้ จรดเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่ตื่น
จังหวัดตาก
ทิศตะวันออก จรดแม่น้ำปิงและแนวเขตอุทยานแห่งชาติแม่ปิง
(แม่หาด-แม่กอ) จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลำพูน และจังหวัดตาก
ทิศตะวันตก จรดห้วยยางครกหลวง ทางหลวงจังหวัดหมายเลข
1099 และ น้ำแม่ตื่น
ลักษณะภูมิประเทศ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย
มีสภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปแบ่งได้เป็น 4 ส่วน คือ
ส่วนแรก ได้แก่ ส่วนที่เป็นพื้นที่ภูเขาที่มีความลาดสูงชันหรือมีความลาดเอียงมากกว่า
30 % ขึ้นไป เป็นพื้นที่ที่พบทั่วไปกว้างขวางมากที่สุดในพื้นที่เขตฯ
ส่วนที่สอง ได้แก่ พื้นที่ที่มีสภาพเป็นเนินเขามีความลาดเอียงอยู่ระหว่าง
8-16 % พื้นที่ลักษณะเช่นนี้จะพบอยู่บริเวณห้วยอุ้มปาด บริเวณบางส่วนของห้วยยางครกหลวง
ห้วยเฮือด เป็นพื้นที่ที่มีไม่มากนัก
ส่วนที่สาม ได้แก่ พื้นที่ลานตะพังลำน้ำเก่า
มีความลาดเอียงส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 2-8 % พื้นที่ดังกล่าวจะพบส่วนน้อยเป็นบริเวณบางส่วนที่ติดกับลำน้ำแม่ตื่น
ส่วนที่สี่ ได้แก่ พื้นที่บริเวณที่ราบลุ่ม
ลักษณะเช่นนี้มีอยู่ส่วนน้อยมากมีที่บริเวณหมู่บ้านยางเปียง
และบางส่วนที่อยู่ใกล้ ๆ กับแม่น้ำแม่ตื่น
จากสภาพพื้นที่ทั่วไปดังกล่าวพอสรุปได้
คือ สภาพภูมิประเทศของเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าอมก๋อยพื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นเทือกเขาสูงชันสลับซับซ้อนมีพื้นที่เป็นเนินเขาและที่ราบ
บางส่วน พื้นที่ที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลระหว่าง 300-1,929
เมตร มียอดเขาสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 900 เมตรขึ้นไป ตลอดแนวจากเหนือจดใต้คือ
ดอยหินฝน ดอยยาว ดอยหลวง ดอยโตน ดอยม้าวิ่ง และดอยม่อนจอง
ฯลฯ ดอยที่สูงที่สุดได้แก่ ดอยม่องจอง สูงประมาณ 1,929 เมตรจากระดับน้ำทะเล
ดอยแห่งนี้ยังสำรวจพบสัตว์ป่าสงวนที่ใกล้จะสูญพันธุ์คือ กวางผา
ในการสำรวจพบกวางผาในครั้งนั้น ต้องสูญเสียเจ้าหน้าที่ป่าไม้ไปหนึ่งท่านคือ
คุณคำนึง ณ สงขลา การกู้ศพขึ้นมาจากหน้าผาแห่งดอยม่อนจองต้องใช้เวลาถึง
65 วัน ด้วยความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ตำรวจตะเวนชายแดนแห่งค่ายแม่ริม
หน่วยบินตำรวจแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ และผู้แทนจากกรมป่าไม้
ลักษณะภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อยส่วนใหญ่จะมีอากาศค่อนข้างเย็นเกือบตลอดปีและหนาวจัดในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
(ยกเว้นพื้นที่บางส่วนทางด้านทิศตะวันออกในท้องที่ตำบลมืดกา
อำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ และตำบลบ้านนา อำเภอสามเงา
จังหวัดตาก บริเวณใกล้แม่น้ำปิง หรือพื้นที่บางส่วนที่อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลไม่มากนัก
อากาศจะอบอุ่นถึงร้อนในช่วงระหว่างเดือนมีนาคม-ตุลาคม และอากาศจะค่อนข้างหนาว
ในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์)
สำหรับปริมาณน้ำฝนโดยทั่วไปจะตกหนักในช่วงระหว่างเดือนพฤษภาคม-เดือนตุลาคม
ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยที่ตกในรอบปี มีปริมาณค่อนข้างสูงคือประมาณ
1,926.3 มิลลิเมตร
ชนิดป่าและพรรณไม้
พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย
เป็นพื้นที่ป่าที่ประกอบด้วยป่าไม้ 5 ชนิด คือ
1. ป่าเบญจพรรณ
2. ป่าสนหรือป่าสนเขา
3. ป่าดงดิบเขาหรือป่าดิบเขา
4. ป่าดิบแล้ง
5. ป่าแพะหรือป่าแดงหรือป่าโคก
พื้นที่ป่าบริเวณห้วยแม่ฮาด
ห้วยครั่ง ตำบลมืดกา อำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ
300 เมตร ชนิดป่าเป็นป่าเบญจพรรณ พรรณไม้ที่สำรวจพบเช่น ไม้สัก
ไผ่รวก งิ้วป่า แดง ประดู่ มะขามป้อม ชิงชัน รกฟ้า มะกอก กวาวเครือ
มะเกลือป่า ตะคร้อ ฯลฯ
พื้นที่ป่าบริเวณห้วยยางครกหลวง
บริเวณหม่อนจำปี ตำบลยางเปียง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ซึ่งมีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ
1,000 เมตร ชนิดป่าเป็นป่าสนหรือ ป่าสนเขา ป่าดิบเขา หรือป่าดงดิบเขา
พรรณไม้ที่สำรวจพบเช่น ยางพลวง สนสองใบ ก่อแพะ ก่อสีเสียด
สมอไทย มะม่วงป่า สักขี้ไก่ ตีนนก ก่อสีเสียด
พื้นที่ป่าบริเวณห้วยตาก ตำบลม่อนจอง
อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ
700-800 เมตร ชนิดป่าเป็นป่าเบญจพรรณ ป่าแพะหรือป่าแดง หรือ
ป่าโคก พรรณไม้ที่พบมี สัก ชัยพฤกษ์ ประดู่ ยอป่า เสลาดำ เต็ง
กระโดน แคทราย รกฟ้า งิ้วป่า เหมือดหอม กระแจะ สนสองใบ ฯลฯ
เป็นต้น
พื้นที่บริเวณน้ำตกห้วยตาก
ตำบลม่อนจอง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ระดับความสูงจากน้ำทะเลประมาณ
900-1,000 เมตร ชนิดป่าเป็นป่าดิบแล้ง พรรณไม้ที่พบเช่น กะพงปอตับหูช้าง
ซาง ตะเคียนหนู หว้า มะไฟ กล้วยป่า เล็บเหยี่ยว ยางโอน ผาเสี้ยน
มะตาด ว่านพระกระเจียวขาว กระดังงาแดง ฉิม คะแรด ยมหอม ชุมแสง
ตะคล้อ ฯลฯ เป็นต้น
พื้นที่บริเวณปางเกี๋ยง และบริเวณกิ่วมะหลอด
ตำบลม่อนจอง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ
1,200-1,300 เมตร ชนิดป่าเป็นป่าดงดิบเขาหรือป่าดิบเขา พรรณไม้ที่พบมี
สนสองใบ เต็ง สารภีป่า สักใหญ่ เก็ดดำ ก่อด่าง ก่อสีเสียด
หญ้าหางหมา ก่อแงะ ช่อโสภา ว่านดอกสามสี ว่านพร้าว สนสามใบ
ก่อเตี้ย ก่อตาหมู ผักกาดโคก มะขามป้อม แขมหลวง หางครั่ง รังเม็ดชุมตัวผู้
ด่าหด เลียงมัน ส้านขาว ตะคร้ำ ฯลฯ เป็นต้น
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าที่พบมากในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย
แบ่งได้ 2 จำพวก และมีชุกชุมทั่วไปทั้งพื้นที่ป่าฯ
1. จำพวกนก มีมากมายเท่าที่สำรวจพบแล้วมีถึง 158
ชนิด ที่สำคัญได้แก่ นกกระจ้อยวงตาสีทอง นกกระจิบภูเขาท้องเหลือง
นกกระทาดงสีแสด นกกระรางชนิดต่าง ๆ นกกระลิงชนิดต่าง ๆ นกขุนแผนหัวแดง
นกกินแมลงชนิดต่าง ๆ นกคัดคูมรกต นกกระจาบชนิดต่าง ๆ นกเค้าโมง
นกเดินดงลายเสือ นกตบยุงภูเขา นกบั้งรอกใหญ่ นกเป็ดลาย นกพญาไฟแม่สะเรียง
นกโพระดกคางเหลือง นกมูม เหยี่ยวทะเลทราย นกอินทรีดำ นกอีเสือหลังดำ
อีกา นกนางแอ่นผาสีคล้ำ นกเอี้ยงถ้ำ ไก่ป่า และไก่ฟ้าหลังขาว
ฯลฯ เป็นต้น
2. จำพวกเลี้ยงลูกด้วยนม มีชุกชุมมากโดยทั่วไป
เช่น ค้างคาวจมูกหลอด ค้างคาวลูกหนู หมูชนิดต่าง ๆ ที่พบทั่วไปมี
ช้างป่า เสือโคร่ง เก้ง กวางป่า สัตว์ป่าสงวนที่หายากใกล้สูญพันธุ์แล้ว
ได้แก่ กวางผา พบบริเวณดอยม่อนจอง ตำบลม่อนจอง อำเภออมก๋อย
จังหวัดเชียงใหม่
จุดเด่นที่น่าสนใจ
พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย
มีสิ่งที่น่าสนใจมากมาย เช่น ถ้ำ มีค้างคาวชนิดต่าง ๆ จำนวนมากอาศัยอยู่
เช่น ดอยสองพี่น้อง และมีน้ำตกที่สวยงามอยู่หลายแห่ง เช่น
น้ำตกอุ้มปาด น้ำตกผักไผ่ น้ำตกห้วยริน น้ำตกห้วยหลวง น้ำตกห้วยบางนอน
และน้ำตกห้วยตาก เป็นต้น และแหล่งที่อยู่อาศัยของกวางผา บริเวณดอยม่อนจอง
ซึ่งมีเขาหินสูงชัน มีความยาวของเทือกเขาถึง 6 กม. มีนกที่สำคัญ
ๆ หลายชนิดอาศัยอยู่ และเป็นบริเวณที่มีสัตว์ป่าอยู่หนาแน่นชุกชุมมาก
เช่น ช้างป่า เสือโคร่ง เก้ง เป็นต้น และยังมีทะเลสาบขนาดใหญ่ตลอดแนวเขตฯ
ด้านทิศตะวันตก
การเดินทาง
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย
มีเส้นทางมนาคมจากตัวอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่เข้าถึงได้
2 เส้นทาง คือ
จากอำเภอเมืองเชียงใหม่โดยรถยนต์ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
108 (เชียงใหม่-แม่ฮ่องสอน) ผ่านอำเภอหางดง อำเภอสันป่าตอง
อำเภอจอมทอง ถึงอำเภอฮอด ระยะทางประมาณ 88 กิโลเมตร แล้วแยกเข้าอำเภอดอยเต่า
ตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข 1103 ถึง ท่าเรือริมแม่น้ำปิง ตำบลท่าเดือ
อำเภอดอยเต่า (ท่าศูนย์) ระยะทางประมาณ 40 กม. จากนั้นลงเรือล่องลงใต้ตามแม่น้ำปิง
ถึงหน่วยพิทักษ์ป่าดอยเต่า เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย ระยะทางประมาณ
10 กม. รวมจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ ถึงหน่วยพิทักษ์ป่าดอยเต่าระยะทางประมาณ
138 กม. (หน่วยพิทักษ์ป่าดอยเต่าอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย
ตอนเหนือ ทางด้านทิศตะวันออกติดกับแม่น้ำปิง)
จากอำเภอเมืองเชียงใหม่ โดยทางรถยนต์ตามเส้นทางสายเดิม
ตามข้อ 1.1 ถึงอำเภอฮอด แต่แทนที่จะแยกเข้าอำเภอดอยเต่าตามทางหลวงจังหวัดหมายเลข
1103 จะเดินทางต่อตามเส้นทางเดิม (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108)
จากอำเภอฮอดไปอีก 39 กม. แยกเข้าตามทางหลวง จังหวัดหมายเลข
1099 ถึงบ้านปางโอ้งโม้ง ตำบลยางเปียง อำเภออมก๋อย ตรงหลักกิโลเมตรที่
32 แยกเข้าสู่เส้นทางไปยังเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย ถึงที่ทำการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย
ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร รวมจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ ถึงที่ทำการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย
ระยะทางประมาณ 171 กม. (ที่ทำการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย
อยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อยตอนเหนือ ทางด้านทิศตะวันตก)
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 108 และทางหลวงจังหวัดหมายเลข
1103 เป็นทาง ลาดยาง ส่วนเส้นทางสายอื่นเป็นทางดินลูกรัง บางช่วงในฤดูฝนชำรุดมาก
|
|
เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โรงแรมเชียงใหม่ ห้วยน้ำดัง ดอยอินทนนท์ ดอยอ่างขาง
ดอยสุเทพเป็นศรี
ประเพณีเป็นสง่า บุปผชาติล้วนงามตา งามล่ำค่านครพิงค์ |
•
ข้อมูลท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
•
สถานที่ท่องเที่ยวเชียงใหม่ |
|
|
|
• สวนสัตว์เชียงใหม่ หมีแพนด้า |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ทัวร์โปรโมชั่น

สอบถามทัวร์ทาง Line |
• ติดต่อโอเชี่ยนสไมล์ทัวร์ (เปิดทำการแล้วครับ)
• กรุ๊ปเหมาในประเทศ-ต่างประเทศ สัมนา ดูงาน เที่ยวส่วนตัว
• สำนักงานโทร.0-2969 3664, 0-2949 5134-39
• ID LINE : @oceansmiletour
• คุณเล็ก โทร.082-3656241
• ID Line : lekocean2
• คุณโจ้ โทร.093-6468915
• ID Line : oceansmile |
|
|
|
| |
|
|
|